ทุนท้องถิ่นกับการพัฒนาทรัพยากรประมงพื้นบ้านชุมชนริมเขื่อนลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์

ผู้แต่ง

  • ธวัชชัย เคหะบาล สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • นิตยา เคหะบาล สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

คำสำคัญ:

ทุนท้องถิ่น; ทรัพยากรประมงพื้นบ้าน; ทุนทางการเงิน; ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม; ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทุนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับทรัพยากรประมงพื้นบ้าน และ พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างทุนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับทรัพยากรประมงพื้นบ้าน ชุมชนริมเขื่อนลำปาวจังหวัดกาฬสินธุ์ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีประชากรในการวิจัย คือ ตัวแทนครัวเรือน 139  ครัวเรือน และกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักวิจัยชุมชน ตัวแทนจากภาคประชาสังคม และ ตัวแทนจากภาครัฐ  รวมทั้งสิ้น 33 คน  โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง พื้นที่ดำเนินการวิจัย คือ ชุมชนริมเขื่อนลำปาว ตำบลหนองสรวง อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์  มีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและแบบบันทึกข้อมูลภาคสนาม  มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณนา และทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์โดยการสร้างข้อสรุป ผลการวิจัย พบว่า ทุนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับทรัพยากรประมงพื้นบ้านของชุมชนริมเขื่อนลำปาวจังหวัดกาฬสินธุ์ มี 5 ด้าน ได้แก่ 1) ทุนมนุษย์ คือ อายุ อาชีพ และ ประสบการณ์ 2) ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ คือ สัตว์น้ำ น้ำ ดิน และป่าไม้ 3) ทุนทางกายภาพ คือ การถือครองที่ดิน เครื่องมือทำประมง และ ภูมิประเทศ   4) ทุนทางการเงิน คือ อาชีพและรายได้ การออม การใช้จ่าย และ แหล่งเงินทุน 5) ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม คือ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การเคารพกฎหมายและกติกาชุมชน ประเพณีและความเชื่อ ผู้นำและกลุ่มองค์กรในชุมชน และความสัมพันธ์กับเครือข่ายภายนอก และพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างทุนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับทรัพยากรประมงพื้นบ้าน ชุมชนริมเขื่อนลำปาวจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้แก่ 1) เพิ่มความรู้ด้านการพัฒนามาตรฐานและการตลาดผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำให้แก่กลุ่มอาชีพในชุมชน 2) การจัดการของเสียในครัวเรือนและอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรประมงพื้นบ้าน 3) อนุรักษ์ฟื้นฟูเครื่องมือประมงพื้นบ้าน 4) จัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน  และ 5) จัดตั้งและพัฒนาเครือข่ายคณะกรรมการประมงพื้นบ้าน

Downloads

Download data is not yet available.

References

ภาษาไทย

กลุ่มสถิติการประมง. (2564). สถิติผลการจับสัตว์น้ำจืด พ.ศ.2563. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 จาก

https://www4.fisheries.go.th/local/index.php/main/view_activities/1408/85334.

กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง. (มปป.). ประมาณการผลผลิตและมูลค่าสัตว์น้ำจากการประมงของ

ประเทศไทย พ.ศ. 2564 – 2566. กลุ่มสถิติการประมง กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง

กีรวิชญ์ เพชรจุล และ กาญจนา กุลวิทิต. (2560) ความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรสัตว์น้ำต่อวิถีชีวิต

และวัฒนธรรมท้องถิ่นในพื้นที่ลุ่มน้ำเขื่อนลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 4(3), 418-438.

ธวัชชัย เคหะบาล. (2560). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนประมงอย่างมีส่วนร่วม

กรณีศึกษาบ้านทับปลา ตำบลหนองสรวง อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการบริหารปกครอง. 6(2), 336-357.

นิลวดี พรหมพักพิง และคณะ. (2562). ทรัพยากรธรรมชาติกับวิถียังชีพของครัวเรือนเกษตรกรรายย่อยในชนบท

อีสาน. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช. 32(2). 123-144.

บัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2549). ความอยู่ดีมีสุข: แนวคิดและประเด็นการศึกษาวิจัย. วารสารคณะมนุษยศาสตร์

สังคมศาสตร์. 23(2), 1-31.

ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2550). สำรวจสถานภาพแนวคิดการดำรงชีพอย่างยั่งยืน. ในรายงานการประชุมทาง

มานุษยวิทยาครั้งที่ 6 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร 25-27 มีนาคม 2550. 1-81. กรุงเทพฯ :

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

พิศมัย ศรีเนตร และ อัญชนา ณ ระนอง. (2561). ทุนชุมชนกับความสามารถของชุมชนในการจัดการภัยพิบัติ

น้ำท่วม. วารสารการบริหารการปกครอง. 7(1), 522-553.

ภัทรพร ศรีพรหม. (2552). ความอยู่ดีมีสุขและสินทรัพย์ทุนในชุมชนชนบท. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหา

บัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย.

ศูนย์ป้องกันและปราบปรามการประมงน้ำจืดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. (2546). รายงานประจําปี 2546.

ส่วนบริหารจัดการประมงน้ำจืด สํานักบริหารการจัดการด้านการประมง กรมประมง.

สุนิตย์ เหมนิล. (2564). ทุนทางสังคมกับการประกอบสร้างวิสาหกิจชุมชนกรณี

กลุ่มประมงดอนแก้ว อําเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี. วารสารพัฒนาสังคม. 23(1), 118-142

สำราญ สะรุโณ. (2545). กระบวนการปรับปรุงการผลิตเพื่อการดำรงชีพอย่างยั่งยืนของเกษตรกรที่ทำนาเป็น

อาชีพหลักพื้นที่บ้านพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. สารนิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อดิสอน ขุ่ยคำ และสมปรารถนา ศรีมันต๊ะ. (2559). การฟื้นฟูประมงพื้นบ้านริมกว๊านโดยการมีส่วนร่วมของคนใน

ชุมชนบ้านสันหนองเหนียว หมู่ 3 ตำบลบ้านต๋อม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ภาษาอังกฤษ

Department for International Development. (1999). Sustainable Livelihood Guidance sheets

Available: http//www.livelihood.org/ info/ info_ guidancesheets.html.

(October 1, 2008.)

Kaag et al., Kaag, M., van Berkel, R., Brons, J., de Bruijn, M., van Dijk, H.,de Haan, L., Nooteboom,

G. and Zoomers, A. (2004). Ways forward in livelihood research, in: Globalization and development. Themes and concepts in current research, edited by: Kalb, D., Panters,W., and Siebers, H., Kluwer Academic Press, Dordrecht, 49–74.

Translated Thai References

Adisorn, Khui Kham and Sompattana Srimanta. (2016). Restoration of

the Rim Kwan indigenous fishery by participation. of people in Ban San Nong Niew community, Village No. 3, Ban Tom Subdistrict, Mueang District, Phayao Province.

Bangkok: Office of the Research Fund (TRF).

Buaphan Prompakping. (2006). Well-being: Concepts and Research Issues.

Humanities Social Sciences. 23(2), 1-31.

Division of Fisheries Development Policy and Planning (M.D.). Estimated productivity and value

of aquatic animals from fisheries Thailand 2021 – 2023. Fisheries Statistics

Group, Division of Fisheries Development Policy and Planning

Fisheries Statistics Group ( 2021). Freshwater Catching Statistics 2020.

Retrieved February 7, 2022 from

https://www4.fisheries.go.th/local/index.php/main/view_activities/1408/85334.

Keeravit Petjul and Kanjana Kulwitit. (2017). Biodiversity of Aquatic Animals for Local Tradition

and Culture on The Basin Lam Pao Dam Kalasin Province. Prae-wa Kalasin Journal of Kalasin University. 4(3). 418-438.

Ninwadee Prompakping et al. (2019). Natural Resources and the Livelihoods of Small

Agricultural Households in Rural Isan. Sukhothai Thammathirat Journal. 32(2). 123-144.

Pattaraporn Sriprom. (2009). Well-being and capital assets in rural communities. Bachelor of

Arts thesis Master's degree, Faculty of Humanities and Social Sciences KhonKaen University. KhonKaen: Graduate School.

Pinkaew Luang Aramsri. (2007). Explore the conceptual status of Sustainable living. In meeting

minutes 6th Anthropology at Sirindhorn Anthropology Center, March 25-27, 2007.

Bangkok : Sirindhorn Anthropology Center.

Pissamai Srinate and Anchana Na Ranong. (2018). Community Capitals and Community

Capacities to Flood Disaster Management. Governance Journal. 7(1), 522-553

Samran Saruno. (2002). Production improvement process for sustainable livelihoods of

farmers who farm. It is the main occupation in Ban Puan area, Tha Hin Subdistrict, Sathing Phra District, Songkhla Province. Dissertation Master of Arts in Agricultural Development graduate school Prince of Songkla University.

Sunit Hemnil. (2021). Social Capital and Community Enterprise Construction: A Case Study of

Don Kaew Fishery Group, Kumphawapi District, Udon Thani Province. Journal of Social Development. 23(1). 118-142

Sukhon Sae-ui et al. (2017). Appropriate model of conservation of local fish species for

economic building.of the community in La-un Nuea Sub-district, La-un District, Ranong Province. Bangkok : Fund Office Support research.

Tawatchai Kahaban. (2017). Economic Development in the Fishing Villages of Tubpla,

Nhongsuang, Nhongkungsri, Kalasin. Governance Journal. 6(2). 336-357.

The Northeastern Inland Fisheries Prevention and Suppression Center. (2003). Annual Report

Inland Fisheries Management Division Office of Fisheries Management, Department of Fisheries.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-22