การประเมินโครงการเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี ตามแนวทางเบญจวิถีของนักเรียนโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์
คำสำคัญ:
การประเมินโครงการ; คุณลักษณะความเป็นสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี: แนวทางเบญจวิถี; โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์บทคัดย่อ
การประเมินโครงการมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินโครงการเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี ตามแนวทางเบญจวิถีของนักเรียนโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต (ความสำเร็จเรื่องการเทิดทูนสถาบัน กตัญญู บุคลิกดี มีวินัย และการให้เกียรติ) และด้านผลกระทบ ผ่าน 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) บุคลิกดีมีมาด 2) กิจกรรมเด็กดีศรีกาญจนา 3) กิจกรรมพุทธบุตรแก้วกาญจนา 4) กิจกรรมศาสนกิจนำสุขทุกสัปดาห์ 5) กิจกรรมกาญจนาสาธารณจิต 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อโครงการ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา รวม 273 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมินโครงการ พบว่า 1. โครงการเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี ตามแนวทางเบญจวิถีของนักเรียนโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์ ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2.ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อโครงการ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
Downloads
References
ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จำกัด.
ทองพูล ภูสิม ศักดิ์พงศ์ หอมหวน และสมบัติ ฤทธิเดช. (2553). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
กรณีศึกษา โรงเรียนแกดําวิทยาคาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 วารสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, ว.มรม. 5(1),175-186.
นพดล เด่นดวง. (2558). การประเมินโครงการตามแนวทางเบญจวิถีเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะความ
เป็นสุภาพบุรุษ สุภาพสตรีของนักเรียนโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระ
ตำหนักสวนกุหลาบมัธยม). นครปฐม.
ปรัชญา ปรีชม. (2555). การบริหารเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านการอยู่อย่าง
พอเพียงของนักเรียน โรงเรียนวัดตะโกสูง (เหรียญอุปถัมภ์) อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1.
ปรีชา กระแสร์. (2555). รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนโรงเรียนเกาะ
จันทร์พิทยาคาร.
รชฏ กันทะรัญ. (2554). การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานการพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ปีการศึกษา 25554 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงใหม่ เขต 5.
ศักดา ใจตรง. (2555). รายงานการประเมินโครงการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน
โรงเรียนค่ายบางระจันวิทยาคม อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5.สืบค้นจาก http://www.secondary5.go.th/. สืบค้นวันที่ 12
กรกฎาคม 2561.
สมพงษ์ หงษา. (2554). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้
วัฒนธรรมลูกแก้วเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์.
สุรปรีชา ลาภบุญเรือง. (2558). ประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนท่าคันโท
วิทยาคารโดยใช้ เครือข่ายบ้าน วัด โรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
จังหวัดกาฬสินธุ์.
อาภาพร เหล็กกล้า. (2553). การพัฒนาการดำเนินงานเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความ
รับผิดชอบของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร.
ภาษาอังกฤษ
Alkin, M.C.(1969). Evaluation Theory Development, Education Comment, 1969, 2- 7.
Best, J.W. (1997). Research in Education. Englewood Cliffs N.J. : Prentice – Hall.
Buteau, G.E. (1998). Discourse of Moral lssues In a Third Grade Classroom (Elementtary
Schools, Public Education, Ethics). Boston: UMI.
Cronbach, L, J. (1990). Course Improvement Through Evaluation. Teachers College
Record. 64,672-683.
Dennis, M.L.(1981). “Teachers’ Pupil Control Ideology Pupil Control Behavior and Student
Discipline.” Dissertation abstracts International. 41 (May 1981) : 4563-A.
Lanier , M. (1993). Learning theories for teachers (4thed). New York:
Harper & Row.
Lewis, E. (1982) Blond’s encyclopedia of education. London: Blood education.
Stufflebeam, D.L ed.al. (1971). Educational Evaluation and Decision Making. Itasca, III:
Peacock.
Translated Thai References
Ministry of Education. (2008). Basic Education Core Curriculum B.E.2551 (A.D.2008).
Bangkok : Agricultural cooperative community of Thailand.
Thongpool Phumsin, Sukpong Homhuan and Sobat Litidech. (2010). The development of
moral and eight desirable characteristics according to Basic Education Core
Curriculum B.E.2551 (A.D.2008). A case study of Kaedum school, under
Mahasarakarm primary educational service area Office 1. Mahasalakarm Rajabhat
University Journal, 5(1),175-186.
Nophadon Dendong. (2015). The project evaluation on the way of Benjawithee (5 good
practices) to support the leadership of students of Kanchanapisekwittayalai
Nakornpratomschool. Nakornpratom Province.
Pratchaya Preechom. (2012). Strategic Management in the development of Desirable
characteristics on self sufficiency economy of Wattagosung School students,
Dontom district, Nakornpratom. Under Nakornpratom Educational service
Area office 1.
Preecha Krasae. (2012). A report of the project evaluation on moral and Ethics
supporting of Korjanpittayakarn school students.
Ratchta Kantaran. (2011). The synthesis of the result on the implementation Of
improving students to have desirable characteristics, Academic year 2011,
schools under Chaingmai primary educational service area office 5.
Sukda Jaitong. (2008). A report of the project evaluation on moral and Ethics supporting
of Kai Bangrajan wittayakon school students, Kai Bangrajan district, Singburee
province. Under Singburee condary educational Service Area Office. from
http://www.secondary5.go.th/. Retrieved on July 12, 2018.
Somphong Hongsa. (2011). A model development on students care Management by
using Look Kae cultural model to improve students’ Quality of Bangkae
Prachasun school. (Copied doccument)
Surapreecha Larboonruang. (2015). A report of the project evaluation on moral
supporting of Takuntowittayakarn school students by using village, temple
and school network. Under the Secondary Educational Service Area Office
Arpaporn Lekgla. (2010). The development of implementation onsupporting Of
desirable characteristics in term of responsibility of Somdej Prayanasang Vorn
school students, Komkuenkaew district, Yasothon province.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.