ความสามารถทางเทคโนโลยีดิจิทัลของกลุ่มข้าราชการและพนักงานของรัฐ ที่สังกัดหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดตรัง

ผู้แต่ง

  • วิสุทธิณี ธานีรัตน์ คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • กษมา รัตนพงศ์ คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • จุฑามาศ สุขคง
  • ลักษิกา วิเชียร คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • เมธาวี เครือแก้ว คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • ศิริวรรณ ปานจันทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • สุดารัตน์ หมวดดิษฐ์ คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • ศุภิสรา แซ่ฮ่อ คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • ฮาซันอักริม ดงนะเด็ง คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง

คำสำคัญ:

ความสามารถ; เทคโนโลยีดิจิทัล; ข้าราชการ; พนักงานของรัฐ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสามารถทางเทคโนโลยีดิจิทัลของกลุ่มข้าราชการและพนักงานของรัฐ  ที่สังกัดหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดตรัง 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางเทคโนโลยีดิจิทัลของกลุ่มข้าราชการและพนักงานของรัฐ ที่สังกัดหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดตรัง จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล การวิจัยนี้เปนการวิจัยแบบผสมผสาน โดยการวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.982 ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลกับผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง  สำหรับวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงอนุมาน โดยใช้การทดสอบ (t-test ) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (one-way ANOVA) สำหรับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยระดับความสามารถของข้าราชการและพนักงานของรัฐในจังหวัดตรัง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก  (=3.69, S.D. 0.65) โดยความพร้อมของบุคลากรในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ด้านความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการติดต่อสื่อสาร ตามลำดับ ซึ่งสอดคลองกับผลการสัมภาษณ์ 2) ผลการเปรียบเทียบความสามารถทางเทคโนโลยีดิจิทัลของกลุ่มข้าราชการและพนักงานของรัฐ ที่สังกัดหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดตรัง พบว่า ปัจจัยทางด้านอายุ และ ปัจจัยหน่วยงานที่สังกัด มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ส่วนปัจจัยอื่นๆ ไม่แตกต่างกัน

References

ภาษาไทย

จันทร์จิรา เหลาราช. (2564). การปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลและผลกระทบต่อองค์กร. วารสารมนุษศาสตร์สาร

, 22(1), 227-240.

จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2556). เครื่องมือที่ใชในการวิจัย. วารสารบัณฑิตศึกษา, 12 (58), 22-23.

จุฑามาศ นิ่มจิตต์ และโกวิทย์ กังสนันท์. (2564). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรของ

สำนักงานอัยการจังหวัดนนทบุรี ที่มีผลมาจากการปรับใช้เทคโนโลยี. วารสารนวัตกรรมการ

บริการและการจัดการ, 9(3), 36-50.

ถวัล พอกประโคน, ศิราณี จุโฑปะมา, และประคอง กาญจนาการุณ. (2557). สภาพการบริหารงานโดย

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

บุรีรัมย์เขต 1. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 6(1), 87-101.

ปัณฐิตา ศรีนิติวรวงศ์ และอรวรรณ คงมาลัย. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบของการถ่ายทอด

เทคโนโลยีของหน่วยงานรัฐบริบทระบบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์. วารสาร

รัฐประศาสนศาสตร์, 2(17), 47-67.

เรวัต แสงสุริยงค์. (2559). บนเส้นทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในสังคมไทย : ยุคการปฏิรูป

ราชการ.วารสารวิชาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 25(47), 43-64.

วลัยพร รัตนเศรษฐ. และสมศักดิ์ วาณิชยาภรณ์. (2564). บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการกับการ

แพร่ระบาดของโควิด-19. วารสารการบริหารและสังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 4(2), 72-87.

วิชนี คุปตะวาทิน, แมน วาสนาพงษ์, พรทิพย์ ขุนดี, และรัชตามิตร สมหวัง. (2561). สังคมสุงวัยกับโลก

สมัยใหม่. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ (ฉบับพิเศษ), 450-455.

ศิริวัฒน์ เปลี่ยนบางยาง. (2558). ประสิทธิผลของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานของ

เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิชาการ, 8(3), 1051-1062

ษมาวีร์ จันทร์อารีย์. (2562). การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุและข้อเสนอเพื่อการเสริมสร้างภาวะ

พฤฒิพลังและผลิตภาพของผู้สูงอายุไทย. วารสารนิเทศศาสตร์, 39(2), 58-59.

เสมอ นิ่มเงิน. (2564). Generation กับพฤติกรรมการรับขาวสารผ่านสื่อต่างๆ. สืบค้น 12 เมษายน

จาก http://edoc.mrta.co.th/HRD/Attach/1566372710_1.pdf

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2564). ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของ

ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ. สืบค้น 3 เมษายน 2565. จาก

https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2565). ระบบราชการ 4.0. สืบค้น 12 เมษายน 2565.

จาก https://www.opdc.go.th.

สำนักงานจังหวัดตรัง. (2563). จำนวนหน่วยงานราชการในจังหวัดตรัง. สืบค้น 3 เมษายน 2565. จาก

https://ww2.trang.go.th/frontpage?fbclid=IwAR1ypfZVlZZb1zTGwraQ_mvjtzsQTk

IbnqnJUjSwgzAKnMH_l1F-dUEz65c

ภาษาอังกฤษ

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test. 5th edition.. New York: Harper

Collins

Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis (3rd ed.). New York: Harper & Row

Translated Thai References

Chan-Aree , S. (2019). Digital Technology Utilization of Elderly and Framework for

Promoting Thai Active and Productive Aging, Journal of Communication

Arts,39(2). 58-59 (in Thai)

Kuptawatin, W., Wadsanapong, M. Khundee, P and Mitsomhwung, R. (2021). Aging

Society and the modern World, Journal of Suvarnabhumi Institute of

Technology. 450-455. (in Thai)

Laorach, J. (2021). Digital transformation and Impacts to Organization, Journal of Human

Sciences, 22(1). 227-240 (in Thai)

Nimjit, J. and Kangsanan, K. (2020). Performance of Personnel of the Nonthaburi

Provincial Prosecutors office Resulting From the use of Digital Technology,

Journal of Administrative and Management Innovation, 9(1). 197-216. (in Thai)

Nimngen, S. (2021). Generation and the behavior of receiving messages through various

media. Retrieved on April 12, 2022.

Fromhttp://edoc.mrta.co.th/HRD/Attach/1566372710_1.pdf (in Thai)

Office of the Civil Service Commission. (2021). Skills for understanding and using digital

technology of government officials. Retrieved on April 3, 2022. From

https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp. (in Thai)

Office of the Public Sector Development Commission. (2022). Government 4.0.

Retrieved on April 12, 2022. From https://www.opdc.go.th. (in Thai)

Phokprakhon,T Jutapama,S and Kanjanakarun. (2014). States of Administration Using

Information Technology in Schools Under Buriram Pri-Mary Educational Service

Area office,Journal Buriram Rajabhat University, 6(1). 87-101. (in Thai)

Pleanbangyang, S. (2016). Effectiveness in Using Information Technology for Working of

Local Administration Organization Officlals Casa Study Amphoe

Phutthamonthon, Veridian E-Journal,Silpakorn University, 8(3). 1051-1062.

(in Thai)

Ratnaset, W. and Wanitchayaporn, S. (2021). The role of government in managing the

spread of COVID-19. Journal of Administration and Social Science Review, 4(2),

-87.

Saengloetuthai, J. (2015). Research Instrument. Graduate studies Journal, 12(58), 22-23.

(in Thai)

Sangsuriyong, R. (2019). Journey of e-Government in Thai Society : Digital Eea, Sociology

Department, Faculty of Humanities and Social Social Sciences, Burapha

University, 25(47). 43-64. (in Thai)

Srinitiworawong, P. and Khongmalai, O. (2019). Factors Affecting Government

Technology Transfers : Electronic Procurement in the Thai Government, Thai

Journal of Public Administration, 2(17). 47-67. (in Thai)

Trang Provincial office. (2021). Government in Trang Province. Retrieved on April 3,

From https://ww2.trang.go.th/frontpage?fbclid=IwAR1ypfZVlZZb1zTGwraQ_mvjtzsQTkIbnqnJUjSwgzAKnMH_l1F-dUEz65c.

(in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-05

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)