พลวัตของเมืองกับยุทธศาสตร์การป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ

ผู้แต่ง

  • สุทธิชัย รักจันทร์ สาขาการเมืองการปกครอง, คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
  • ปัฐมพงศ์ รัตนโกศัย นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ; ปัญหาการจัดการภัยพิบัติ ; ยุทธศาสตร์การจัดการภัยพิบัติ

บทคัดย่อ

     

เหตุการณ์วิกฤตการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นรอบโลกในปัจจุบันนี้ ได้ สะท้อนให้เราเห็นว่า วิกฤติไม่ใช่เป็นเรื่องที่ไกลตัวของมนุษย์ ประเทศต่าง ๆ ในโลกมีการเชื่อมโยงถึงกัน เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศหนึ่งย่อมมีผลกระทบต่อประเทศอื่น ๆ ทั้งในอนุภูมิภาคเดียวกันและภูมิภาคใกล้เคียงกันได้ อีกทั้งทวีปอื่น ๆ ที่อยู่อีกซีกโลกหนึ่งก็ย่อมได้รับผลกระทบที่เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก ภัยพิบัติทางธรรมชาติ  เช่น พายุแผ่นดินไหว  น้ำท่วม สึนามิ  ภูเขาไฟระเบิด ไฟป่า เป็นต้น จวบจนภัยอื่น ๆ ที่อาจเข้ามาแทรกระหว่างกลางอย่าง COVID-19 ที่อาจโถมทวีความรุนแรงของภัยธรรมชาติมากขึ้นไปอีก บทความวิจัยฉบับนี้ช่วยสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทยที่มักประสบในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การขาดความพร้อมในการประสานงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเตือนภัยแก่ผู้ที่อยู่ในเขตพื้นที่ประสบภัยให้อพยพหนีมาอยู่ในเขตที่ปลอดภัย ประชาชนทั่วไปขาดความรู้ความเข้าใจในการรับมือ รวมถึงปัญหาการจัดการวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ในสถานการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติดังกล่าว เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวประชาชนเกิดการแตกตื่นโกลาหล ขาดทิศทางที่ชัดเจนในการรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติดังกล่าว ผลที่ตามมาเกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินจำนวนมาก จนบางสถานการณ์อาจกลายเป็นโศกนาฏกรรมครั้งสำคัญได้ ผู้เขียนนำเสนอยุทธศาสตร์พร้อมมาตรการที่เหมาะสมสำหรับการรับมือในกับภัยพิบัติทางธรรมชาติสำหรับหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน รวม 4 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์การลดผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ยุทธศาสตร์การรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ และยุทธศาสตร์การฟื้นฟูจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ       

Downloads

Download data is not yet available.

References

ภาษาไทย

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2560). มาตรฐานข้อมูลด้านสาธารณภัย. เรียกใช้เมื่อ 10 กรกฎาคม 2563 จาก http://portal.disaster.go.th/portal/public/client/ClientManual.pdf?ms=1558840708496

กรุงเทพธุรกิจ. (2563). ‘New Normal’ คืออะไร? เมื่อโควิด-19 ผลักเราสู่ชีวิต 'ปกติวิถีใหม่' ! เรียกใช้เมื่อ 12 กรกฎาคม 2563 จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/882508

กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (1 พฤษภาคม 2565). ปภ.เผยสรุปสถิติสาธารณภัยในรอบปี 64. เรียกใช้เมื่อ 11 ธันวาคม 2565 จาก http://relation.disaster.go.th: http://relation.disaster.go.th/cmsdetail.PRDPM

ชาตรี ปรีดาอนันทสุข. (2555). เปลี่ยนมุมมองของการจัดการวิกฤตด้วยแนวคิดการจัดการวิกฤตเชิงบูรณาการ. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสารมหาวิทยาลัยนเรศวร, 8(1), 27-38.

ทวิดา กมลเวชช. (2555). คู่มือการจัดการภัยพิบัติท้องถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมดาเพลส จำกัด.

พัชราภา ตันตราจิน. (2563). การจัดการปกครองแบบร่วมคิดร่วมทำ (Collaborative Governance): ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและนำไปปฏิบัติ. เศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 139-162.

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์. (28 มิถุนายน 2559). เมืองที่รับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้. เรียกใช้เมื่อ 12 ธันวาคม 2565 จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_191562

ไมตรี จงไกรจักร. (29 กรกฎาคม 2564). เสวนาออนไลน์ภัยพิบัติซ้ำซ้อน (Compound Hazard) : ความเสี่ยงภัยใกล้ตัว. สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ) : ThaiHealth. จาก https://web.facebook.com/304196827037305/videos/533698064638243

รัชวิชญ์ วังศรี. (2564). ภัยพิบัติทางธรรมชาติกับความมั่นคงของชาติ: ปัญหาและผลกระทบจากการบังคับใช้กฎหมาย. นิติปริทัศน์, 1(2), 27-49.

วีรภาคย์ ซำศิริพงษ์ และจรูญศรี มาดิลกโกวิท. 2560. แนวทางการศึกษาชุมชนเพื่อการรับมือภัยพิบัติซ้ำซ้อนผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา,12(1),75-88.

ศิรศักย เทพจิต. (2563). COVID-19 Pandemic : การตอบสนองเชิงนโยบายสาธารณะในการรับมือกับปัญหาพยศ. เรียกใช้เมื่อ 13 กรกฎาคม 2563 จาก http://www.setthasarn.econ.tu.ac.th/blog/detail/59/

สมพร คุณวิชิต. (2561). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัยแบบเบ็ดเสร็จ. สงขลา: พี.ซี.พริ้นติ้ง.

เอกราช บุญเริง และอโณทัย หาระสาร. (2561). กลยุทธ์ในการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติของประเทศไทย. วารสารการเมืองการปกครอง, 8(2), 100-115.

ภาษาอังกฤษ

Jon Coaffee. (2008). Risk, resilience, and environmentally sustainable cities. Energy Policy, 36(12), 4633-4638. doi:https://doi.org/10.1016/j.enpol.2008.09.048.

Lindell et al. (2007). Wiley Pathways Introduction to Emergengy Management. Hoboken, NJ: John Wiley & Sons.

OECD. (10 December 2018). Building Resilient Cities An Assessment of Disaster Risk Management Policies in Southeast Asia. เรียกใช้เมื่อ 12 December 2022 จาก https://www.oecd-ilibrary.org/sites/9789264305397en/1/1/5/index.html?itemId=/content/publication/9789264305397en&_csp_=952c06d7c05897debbb9feaa6463bbc3&itemIGO=oecd&itemContentType=book

Translated Thai References

Bangkokbiz (2020). What is the 'new normal'? Push us into life. 'New Normal' ! Retrieved 12 July 2020 from https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/882508

Chatri PridaAnantasuk (2012). Changing the perspective of crisis management with the concept of integrative crisis management. Business Administration Journal Economics and Communication, Naresuan University, 8(1), 27-38.

Department of Disaster Prevention and Mitigation. Ministry of Interior. (2017). Disaster Information Standards. Retrieved on July 10, 2020 from http://portal.disaster.go.th/portal/public/client/ClientManual.pdf?ms=1558840708496

Division of Public Relations in Department of Disaster Prevention and Mitigation (2022). Retrieved 11 December 2022 from http://relation.disaster.go.th/cmsdetail.PRDPM

Ekkarad Boonreung and Anothai Harasarn. (2018). Strategies for Managing Natural Disasters in Thailand. Journal of Politics and Governance, 8(2), 100-115.

Eakarat Boonreang and Anothai Harasarn (2020). COVID-19 Pandemic : Public policy responses to dealing with the nod. Retrieved 13 July 2020 from http://www.setthasarn.econ.tu.ac.uk/blog/detail/59/

Mitree JongKrichak. (29 July 2021). Compound Hazard Online Conferment. Thai health. https://web.facebook.com/304196827037305/videos/533698064638243

Patcharapa Tantrajin (2020). Collaborative Governance: Factors Affecting Creation and Implementation. Burapha Journal of Political Economy,139-162.

Pitch pongsawat (2016). Cities that can cope with change. Retrieved 12 December 2022 from https://www.matichon.co.uk/columnists/news_191562

Rajwit Wang Si. (2021). Natural Disasters vs. National Security: Problems and Consequences of Law Enforcement.

Somporn Khunwichit. (2018). Introduction to comprehensive disaster management. Songkhla: T.C. Printing.

Tavida Kamolvej. (2012). Handbook for Local Disaster Management. 2nd edition. Bangkok: Normal Place Co., Ltd.

Weerapak Samsiripong and Charoonsri Madiloggovit. Community Education Guidelines for Recurrent Disaster Response Throughstakeholder Participation. An Online Journal of Education (OJED), 12(1), 75-88.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29