การนำนโยบายส่งเสริมผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชนไปปฏิบัติของภาครัฐ: กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • บัญชา พุฒิวนากุล สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • นิภาภรณ์ จงวุฒิเวศย์ สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การนำนโยบายไปปฏิบัติ; กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพร; เมืองสมุนไพร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินนโยบายส่งเสริมผลิตภัณฑ์สมุนไพรไปปฏิบัติของภาครัฐในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มและการสังเกต ผู้ให้ข้อมูลสำคัญรวม 20 คน ได้แก่ ผู้นำกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกสมุนไพร นักวิชาการ ผู้บริหารและนักพัฒนาด้านนโยบายองค์กรภาครัฐและเอกชน นำเสนอข้อมูลโดยสังเคราะห์ ตีความข้อมูลเอกสาร และวิเคราะห์เชิงพรรณนา  ผลการศึกษาพบว่า การนำนโยบายส่งเสริมผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชนไปปฏิบัติในพื้นที่มหาสารคาม  มีกระบวนการดำเนินการเริ่มขึ้นเมื่อจังหวัดรับนโยบายภายหลังจากที่รัฐส่วนกลางประกาศแผนแม่บทสมุนไพรแห่งชาติ ปี 2560 (2560-2564) การดำเนินการแบ่งเป็น 2 ระดับคือ 1) ระดับจังหวัด     มีการวางยุทธศาสตร์ส่งเสริมสมุนไพรเป็นเมืองสมุนไพร (Herbal City) คัดเลือกชุมชนหรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่มีศักยภาพพร้อมพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ดำเนินการยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรของกลุ่มฯ ที่สามารถผลิต แปรรูป บรรจุภัณฑ์ และช่องทางตลาด และติดตามประเมินผลการดำเนินการของกลุ่มฯ อย่างต่อเนื่อง 2) ระดับชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรได้รับการส่งเสริมพัฒนาสมุนไพร ซึ่งแต่ละกลุ่มมีระดับพัฒนากระบวนการผลิตสมุนไพรต่างกัน เนื่องจากศักยภาพความพร้อมต่างกัน เช่น วัตถุดิบ การอบสมุนไพร บรรจุภัณฑ์ทันสมัย ช่องทางตลาดและการรายได้ รวมทั้งข้อจำกัดด้านการบริหารขององค์กรรัฐท้องถิ่น บุคลากร และงบประมาณ

Downloads

Download data is not yet available.

References

ภาษาไทย

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข. (2559). แผนแม่บทแห่งชาติ

ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564. นนทบุรี: บจก.ทีเอส

อินเตอร์พริ้นท์

กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ. (2565). สรุปรายงานประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ

พัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) จังหวัดมหาสารคาม. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2565,

จาก https://nph.dtam.moph.go.th/index.php/news-nph/download-document-

nph/274-mahasarakham-visit-report-herbal-city-20mar19

กรุงเทพธุรกิจ. (2564). เห็นชอบแผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ดันสมุนไพรพืชเศรษฐกิจ.

สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/980160

จินตนา สิงหเทพ. (2540). การศึกษาการนำนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปฏิบัติ:

ศึกษากรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์สาขาการพัฒนาสังคม คณะพัฒนา

สังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ไซโตน ตาเละและคณะ. (2550). ศึกษาพัฒนาและแสวงหาตลาดผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพรท้องถิ่นโดยกลุ่ม

แม่บ้านผลิตภัณฑ์สมุนไพรปูยุดบ้านราง ตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. (รายงานกา

วิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนการวิจัยแห่งชาติ

ดลนภัส กันธะลี. (2556). การศึกษาความหลากหลายของพืชอาหารและพืชสมุนไพรกับใช้ประโยชน์ของ

ชุมชนบ้านปิตุคี อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: สาขาวิชาการพัฒนาภูมิสังคมอย่าง

ยั่งยืน. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

บัญชา พุฒิวนากุล. (2561). การนำนโยบายแก้ปัญหาความยากจนไปปฏิบัติโดยองค์การเครือข่ายใน

จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประยุกต์ ปิติวรยุทธ. (2562). การนำนโยบายเมืองสมุนไพรไปปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ.

ชลบุรี: วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

พิสิษฐ์ บุญถนอม. (2563). แนวทางการดำเนินงาน เพื่อความสำเร็จในการทำงานร่วมกันระหว่างผู้นำ

ชุมชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา:องค์การบริหารส่วนตำบลบางสะแก อำเภอ

บางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ: (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาการ

จัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

รัชนี เพ็ชร์ช้าง, ศิวัตม์ กมลคุณานนท์, สิทธินันท์ ทองศิริ, บุญสูง อังกาบ. (2559). การบริหารจัดการธุรกิจ

สมุนไพรเพื่อส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น จังหวัดอุตรดิตถ์แบบครบวงจร. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม

จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/abcjournal/article/view/95674

รัฐไท พรเจริญ (2554). การออกแบบพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่กับการสรางต้นแบบผลิตภัณฑ์สู่ชุมชน.

กรุงเทพฯ: คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิชัย โชควิวัตน . (2556). ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย: สถานภาพปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต. วารสาร

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก,11 (3), 12-18.

สารรังสิต online. (2019). การพัฒนาสมุนไพรไทยสู่ตลาดโลก ไทยมีความพร้อมในการเข้าร่วมแข่งขัน

หรือไม่? ที่นี่มีคำตอบ.. สืบค้นเมื่อ 9 สิงหาคม 2564 จาก

https://www2.rsu.ac.th/sarnrangsit-online-detail/herb01

สำนักงานสภาการพัฒนาเศรฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด. สืบค้นเมื่อ 5

สิงหาคม 2564, จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=gross_regional

สุภางค์ จันทวานิช. (2545). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อุษณีย์ ผาสุข ชวลีย์ ณ ถลาง, และสุทธินันทน์ พรหมสุวรรณ. (2561). แนวทางการพัฒนาเมืองสมุนไพร

ในจังหวัดปราจีนบุรีเพื่อดึงดูดตลาดนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัธนบุรี,

(ฉบับพิเศษ), 24 -56.

ภาษาอังกฤษ

Dye. R. Thomas. (1984). Understanding Public Policy. 3rd ed Englewood Cliffs., New Jersey:

Prentice-Hall

Translated References

Bangkok Business (2021). Approval of the 2nd National Herbs Action Plan to push herbs

for economic plants. Retrieved August 5, 2021. From https://www.bangkokbiznews.com/social/980160 (in Thai)

Bhutwanakul, B. (2018). Implementation of poverty alleviation policies by network organizations in the provinces. Kalasin. Ph.D. Thesis Department of Public

Administration graduate school Khon Kaen University. (in Thai)

Boonthanom. P. (2020). Operation guidelines. for successful collaboration between

community leaders and local government organization Case Study: Bang

Sakae Subdistrict Administrative Organization, Bang Khonthi District,

Province Samut Songkhram. Bangkok: (Master of Arts Thesis) Public and

Private Management Program graduate school Silpakorn University. (in Thai)

Chantawanich, S. (2002). Qualitative Research Methods. 10th edition. Bangkok:

Chulalongkorn University Publishing. (in Thai)

Chokwiwat W.. (2013). Thai herbal products: current status and future trends. Journal of Thai

Traditional and Alternative Medicine, 11 (3), 12-18. (in Thai)

Department of Thai Traditional and Alternative Medicine Development, Ministry of Public

Health. (2016). National master plan on the development of Thai herbs, No. 1,

-2021.Nontaburi: TS Interprint Co.,Ltd. (in Thai)

Division of herbs for the economy. (2022). Summaries of meeting minutes to follow up

on project progress and develop herbal city Maha Sarakham Province.

Retrieved August 2, 2022, from https://nph.dtam.moph.go.th/index.php/news-

nph/download-document-nph/274 mahasarakham-visit-report-herbal-city-

mar19 (in Thai)

Kanthalee. D. (2013). Study on the diversity of food plants and medicinal plants and

their utilization of Ban Pituki community, Omkoi district, Chiang Mai

province. Chiang Mai: Thesis for Master degree of Arts in Geosocial

Sustainable Development, Graduate school, Mae Jo University. (in Thai)

Office of the National Economic and Social Development Council. (2021). Regional and

provincial products. Retrieved on August 5, 2021, from

https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=gross_regional. (in Thai)

Petchchang, R. Kamolkunanon,S. Thongsiri, S. Angkab, A (2016). Comprehensive

Management of Herb Businesses to Promote Local Occupation in

Uttaradit Province. Retrieved on August 8, 2021 from https://so01.tci

thaijo.org/index.php/abcjournal/article/view/95674 (in Thai)

Phasuk. U, Nathalang,C., and Promsuwan, S. (2018). Guidelines for the development of herb

towns. in Prachinburi province to attract the health tourist market. Academic

Journal of Thonburi University, 12(special issue), 24 -56. (in Thai)

Pitiworayut, P. (2019). Implementation of herb town policy in Samut Prakan Province.

Chonburi: Thesis for Master degree of Arts in Public Administration, Burapha

University. (in Thai)

Porncharoen, R. (2011). Design and development of new product models and product prototypes for the community. Bangkok: Faculty of Decorative Arts, Silpakorn

University (in Thai)

Saran Rangsit online. (2019). Development of Thai herbs to the world market. Thailand

is ready to participate in the competition or not? Here is the answer. Retrieved

on August 9, 2021 from https://www2.rsu.ac.th/sarnrangsit-online-detail/herb01

(in Thai)

Singhathep, J. (1997). Study on the implementation of natural resources and

environmental management policies: A case study of Phra Nakhon Si

Ayutthaya Province. Bangkok: Thesis for Master degree of Arts in Social

Development, Faculty of Social Development, National Institute of Development

Administration. (in Thai)

Ta Le, S. et al. (2007). Study, develop and search for a market for local herbal soap

products by housewives group of Pu Yut Ban Rang herbal products, Pu Yut

sub-district, Muang district, Pattani. (Research Report). Bangkok: The National

Research Fund Office

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-13