การจัดการปัญหาการโฆษณาทางสื่อสังคมออนไลน์ที่ฝ่าฝืนกฎหมายของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการเสริมความงาม จังหวัดมหาสารคาม
คำสำคัญ:
มาตรการทางกฎหมาย; คลินิกเสริมความงาม; การโฆษณา; สื่อสังคมออนไลน์บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม วิธีการวิจัยใช้ระเบียบวิจัยเชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาหลัก ของการโฆษณาทางสื่อสังคมออนไลน์ของจังหวัดมหาสารคาม คือผู้ประกอบการอาศัยช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะช่องทางเฟซบุ๊กใช้ชื่อสถานพยาบาลของตนกระทำการโฆษณา เพื่อประโยชน์ทางการค้าและแสวงหาผลประโยชน์เพื่อให้ได้มีผู้มารับบริการมากขึ้น ดังนั้น ควรมีการจัดการในเชิงรุกให้มีหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้องเพิ่มเติม ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อร่วมกันให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายมากขึ้น ข้อเสนอแนะจากการวิจัยพบว่า หากได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานพิจารณาอนุมัติ การโฆษณาหรือประกาศเกี่ยวกับสถานพยาบาลให้เป็นปัจจุบัน ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย ตลอดจนมีระบบการตรวจสอบโฆษณาออนไลน์ หรือ นำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ตรวจจับข้อความโฆษณาทางสื่อสังคมออนไลน์บนอินเตอร์เน็ตที่ผิดกฎหมาย และประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคได้เข้าใจ ตระหนักรู้ถึงการโฆษณาผลิตภัณฑ์และสถานพยาบาลที่เข้าข่ายผิดกฎหมายให้รับรู้มากยิ่งขึ้น
Downloads
References
ภาษาไทย
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2563). รายงานประจำปี 2562. สืบค้น 14 ธันวาคม 2563, จาก
https://hss.moph.go.th/HssDepartment/img/pdf/reportyear2562.pdf
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม. (2563). รายงาน
ประจำปี 2562. สืบค้น 19 ธันวาคม 2563, จาก :http://mkho.moph.go.th.
ธนโชติ แสนคำ. (2562). ความจำเป็นในการกำหนดมาตรการควบคุมการโฆษณากิจการสถานพยาบาล.
วารสารนิติพัฒน์ นิด้า, 8(1), 41-55.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคหรืออาการของโรคที่ห้ามโฆษณา. (22 มีนาคม 2556). ราชกิจจานุเบกษา.
เล่ม 130 ตอนพิเศษ 37 ง หน้า 36.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคหรืออาการของโรคที่ห้ามโฆษณายาว่าสามารถบำบัด บรรเทา รักษาหรือ
ป้องกัน. (22 กุมภาพันธ์ 2520). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 94 ตอนที่ 13 หน้า 782.
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522. (4 พฤษภาคม 2522). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 96 ตอนที่ 72 หน้า 20.พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2551. (5 มีนาคม 2551). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 43 ก หน้า 25.
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2558. (8 กันยายน 2558). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 132 ตอนที่ 86 ก หน้า 5.พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510. (20 ตุลาคม 2510). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 84 ตอนที่ 101 หน้า 7.พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525. (11 สิงหาคม 2525). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 99 ตอนที่ 111 หน้า 1.
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541. (24 มีนาคม 2541). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 115 ตอนที่ 15 ก หน้า 32.
แพทยสภา. (2563). ประกาศแพทยสภาที่ 50/2549 เรื่อง คำที่ห้ามใช้ในการโฆษณา. สืบค้น 14 ธันวาคม 2563.
จาก https://www.tmc.or.th/service_law03_12.php#:~:text=ประกาศแพทยสภา,ห้ามใช้ในการ
โฆษณา&text=1.%20คำว่า%20“เพียง”,.......
แพทยสภา. (2563). ระเบียบแพทยสภา เรื่อง การโฆษณาให้ส่วนลด หรือให้ผลประโยชน์เป็นค่าตอบแทน
ของสถานพยาบาล. สืบค้น 14 ธันวาคม 2563. https://www.tmc.or.th/service_law02_17.php
ประภา สุดราม และภาวัต ชาวพัฒนวรรณ. (2562). อุปสรรคในกระบวนการบังคับใช้พระราชบัญญัติสถานพยาบาล
พ.ศ.2541 เพื่อควบคุมการโฆษณาสถานพยาบาล. วารสารเกษมบัณฑิต (20), 200-209.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. (11 พฤศจิกายน 2468). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 42 หน้า 1.
สำนักพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2563). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2563. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2564 จาก
https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/publications/Thailand-Internet- User-Behavior-2020.aspx.
Translated References
Announcement of Statement of the Medical Council of Thailand No. 50/2549 on words prohibited in
advertising.
Consumer Protection Act B.E. 2522. (4 May 1979). Royal Gazette No. 96, Part 72 special.
Cosmetic Product Act B.E. 2558. (8 Sep 2015). Royal Gazette No. 132, Part 86A.
Department of Health Service Support: Annual Report 2019 [online]. Bangkok: Department of Health Service Support. (2020). https://hss.moph.go.th/HssDepartment/img/pdf/reportyear2562.pdf.
Drug Act B.E. 2510. (20 Oct 1967). Royal Gazette No. 84, Part 101.
Electronic Transactions Development Agency: Thailand Internet User Behavior
[online]. 2021 [cited May 10, 2021]. Available from:
URL:https://www.etda.or.th/publishing-detail/thailand-internet-user-behavior-2020- slides.html.
Mahasarakham Provincial Public Health Office. (2020) URL:http://mkho.moph.go.th.
Medical Devices Act B.E. 2551. (5 March 2008). Royal Gazette No. 125, Part 43A.
Medical Profession Act B.E. 2525. (11 Oct 1982). Royal Gazette No. 99, Part 111.
Prapa Sutram and Pavawat Chaiphanawan. Obstacles In the Enforcement of Health Facility
Act 2541 for Advertisement Control. Kasem Bundit 2019;20:200-209.
Protection Consumer and Public Health Group Mahasarakham Provincial Public Health Office:
Annual Report 2020 [online]. 2020 [cited Dec 19, 2020]. Available from:
Public Health Ministerial Declaration on Disease or Disease Syndrome that do not advertise.
(22 March 2013). Royal Gazette No. 130, Part 37F special.
Public Health Ministerial Declaration on Disease or Disease Syndrome that do not advertise drugs
as being able to treat, mitigate, cure or prevent. (20 Feb 1977). Royal Gazette No. 94, Part 13.
Regulations of Statement of the Medical Council of Thailand on discount advertising or provide
benefits as compensation for Medical Profession.
Sanatoriums Act B.E. 2541. (24 Mar 1998). Royal Gazette No. 115, Part 15A.
Thanachot Saenkam. Necessity to Control Sanatorium Advertisments. NITIPAT NIDA 2019;8 :41-55.
The Civil and Commercial Code. (11 Nov 1925). Royal Gazette No. 42.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.