การครองอำนาจของพรรคประชาธิปัตย์ในภาคอีสาน : กรณีศึกษา สส.วุฒิพงษ์ นามบุตร จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
ครองอำนาจ; วาทกรรม; อำนาจ; การเมืองไทย; การเลือกตั้งบทคัดย่อ
การแพ้ชนะในการเลือกตั้งเป็นเรื่องธรรมดาในทางการเมืองอย่างไรก็ตาม นักการเมืองที่สามารถชนะการเลือกตั้งติดต่อได้หลายครั้งในภูมิภาค หรือ จังหวัดที่กระแสพรรคการเมืองตกต่ำเป็นที่น่าสนใจอย่างมากในการศึกษาในทางการเมือง นายวุฒิพงษ์ นามบุตร สส. พรรคประชาธิปัตย์ เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี ชนะการเลือกตั้งติดต่อกันถึง 5 สมัย นับตั้งแต่ พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2566 ถึงแม้ว่าพื้นที่เขตเลือกตั้งของเขาจะตั้งอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานีและภูมิภาคอีสานซึ่งเป็นฐานคะแนนของพรรคเพื่อไทยก็ตาม บทความนี้มีวัตถุประสงค์ต้องการศึกษา คือ การใช้วาทกรรมทางการเมืองหรืออุดมการณ์ทางการเมืองของนายวุฒิพงษ์ นามบุตร ในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนในเขตพื้นที่เลือกตั้งของตน, ปัจจัยที่ส่งผลให้วาทกรรมทางการเมืองหรืออุดมการณ์ทางการเมืองประสบความสำเร็จ และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อความคิดและอุดมการณ์ประชาชนในเขตการเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบว่า นายวุฒิพงษ์ นามบุตร ได้มีการสร้างและผลิตซ้ำวาทกรรมผ่านตนเอง สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์และประชาชนที่เชื่อมั่นในตัวเขา วาทกรรมที่พบในพื้นที่ได้แก่ “วุฒิพงษ์ผู้แทนติดดิน” “ผู้แทนนักพัฒนา” และ “สมาชิกของตระกูลนามบุตร”ซึ่งเป็นตระกูลเก่าแก่และทำประโยชน์ในคนในพื้นที่มานาน มากกว่านั้นเขาได้มีการลงพื้นที่ช่วยเหลือประชาชนในเขตเลือกตั้งอยู่สม่ำเสมอ เขาสามารถดึงทรัพยากรโดยเฉพาะเรื่องงบประมาณเพื่อพัฒนาพื้นที่ได้มาก ปัจจัยทั้งสองทำให้เกิดความสำเร็จในการใช้วาทกรรมซึ่งส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เชื่อมั่นในตัวเขาในฐานและผู้แทนให้ความสำคัญกับตัวบุคคลมากกว่าอุดมการณ์หรือพรรคการเมือง
Downloads
References
ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (2544). การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Theory). กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์
คมชัดลึก. (2566). อดีตขุนพล 'อีสาน' พรรค 'ประชาธิปัตย์' คืนสู่รัง. เข้าถึงเมื่อ 11 มิถุนายน 2566, จาก https://www.komchadluek.net/news/politics/545316
ณรงค์ชัย วีระกุล. (13 กันยายน 2566). สัมภาษณ์, ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย จังหวัดอุบลราชธานี
ดวงใจ ติณทอง. (13 กันยายน 2566). สัมภาษณ์, รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลชีทวน องค์การบริหารส่วนตำบลชีทวน
บุญจันทร์ ครองยุทธ. (13 กันยายน 2566). สัมภาษณ์, มัคทายก วัดอัมพวันนาราม ตำบลชีทวน อำเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานี
วัชรพล พุทธรักษา. (2550). แนวความคิดการครองอำนาจนำ (Hegemony) ของกรัมชี่ (Gramsci). เข้าถึงเมื่อ 11 สิงหาคม 2566, จาก https://shorturl.asia/WygCV
วัชรพล พุทธรักษา. (2549). รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างสภาวะการครองอำนาจนำ, วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญารัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วารุณี ลีเลิศพันธ์. (2560). การสร้างฐานคะแนนเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ในภาคใต้. เข้าถึงเมื่อ 9 กรกฎาคม 2566, จาก VaruneeLeelerdpan.pdf
วิชญ์จำเริญ มณีแสง. (2559). วาทกรรมทางพรรคการเมืองของพรรประชาธิปัตย์. เข้าถึงเมื่อ 25 มิถุนายน 2566, จาก https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/14229?attempt=2&&locale-attribute=th
วุฒิพงษ์ นามบุตร. (17 กันยายน 2566) สัมภาษณ์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี พรรคประชาธิปัตย์
สมศักดิ์ นันโท. (12 กันยายน 2566). สัมภาษณ์, กำนันตำบลสร้างถ่อ ที่ทำการกำนันตำบลสร้างถ่อ จังหวัดอุบลราชธานี
สุทธาสินี ลำภาษี. (2561). ความเป็นเมืองและภูมิภาคนิยมกับพฤติกรรมการเลือกตั้งในประเทศไทย : แบบจำลองเชิงพื้นที่. เข้าถึงเมื่อ 9 กรกฎาคม 2566, จาก https://shorturl.asia/xuiVA
อรทัย สารกิจ. (13 กันยายน 2566). สัมภาษณ์, ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 บ้านดอนเชียงโท ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 บ้านดอนเชียงโท
เอก ตั้งทรัพทย์วัฒนา. (2547). เอกสารคำสอนวิชาความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. เข้าถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2566, จาก https://shorturl.asia/mql4B
Translate References
Buddharaksa, W. (2007). Gramsci's concept of hegemony. Retrieved August 11, 2023, from https://shorturl.asia/WygCV
Buddharaksa, W. (2006). Thaksin's government, as usual, created a state of hegemonic rule. Master thesis, M.Pol.sc., Chulalongkorn University, Bangkok.
Kaewthep, K. (2001). Mass media studies using critical theory. Bangkok: Parbpim Press
Komchadluek. (2023). Former general from 'Isaan' of the 'Democrat Party' returns to his nest. Retrieved June 11, 2023, from
https://www.komchadluek.net/news/politics/545316
Krongyuth, B. (2023). Mak Thayok, Amphawan Naram Temple, Chi Thuan Subdistrict, Khuang District,Ubon Ratchathani. Interview. September 13, 2023.
Lamphasi. S. (2018). Urbanization and regionalism and electoral behavior in Thailand: a spatial model. Retrieved July 9, 2023, from https://shorturl.asia/xuiVA
Leelertphan, W. (2017). Building the Democratic Party's vote base in the South. Retrieved July 9, 2023,from VaruneeLeelerdpan.pdf
Maneesaeng, W. (2016). Political party discourse of the Democrat Party. Retrieved June 25, 2023, from https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/14229?attempt=2&&locale-attribute=th
Nambut, W. (2023). Member of the House of Representatives, District 2, Ubon Ratchathani Province Democrat Party. Interview. September 17, 2023
Nanto, S. (2023). Sang Tho Subdistrict Headman, Ubon Ratchathani. Interview. September 12, 2023
Sarakit, O. (2023). Village headman, Village No. 7, Ban Don Chiang to. Interview. September 13, 2023
Tangsapwattana, A. (2004). Documents for teaching basic political science knowledge. Retrieved August 20, 2023, from https://shorturl.asia/mql4B
Tinthong, D. (2023). Deputy Mayor of Chi Thuan Subdistrict Administrative Organization Chi Thuan Subdistrict Administrative Organization. Interview. September 13, 2023.
Weerakul, N. (2023). Candidates for House of Representatives, Pheu Thai Party. Interview. September 13, 2023.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.