กลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และนโยบายภาครัฐด้านสาธารณสุขจากภาวะโรคระบาดใหญ่ของพยาบาลวิชาชีพ จังหวัดมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • เนตรนภา ชัยชนะ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ชินวัตร เชื้อสระคู วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ความขัดแย้ง; ประสิทธิภาพในการทำงาน; นโยบายรัฐบาล; โรคระบาดใหญ่พยาบาลวิชาชีพ

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และนโยบายภาครัฐด้านสาธารณสุขจากภาวะโรคระบาดใหญ่ของพยาบาลวิชาชีพ จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อตรวจสอบองค์ประกอบของกลยุทธ์การจัดการความขัดแย้ง 5 มิติที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของกลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งกับนโยบายรัฐด้านสาธารณสุข 3.เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่มีต่อนโยบายภาครัฐด้านสาธารณสุข  การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ จังหวีดมหาสารคาม ทำการสุ่มตัวอย่าง จำนวน 255 คน จากประชากรทั้งหมด 707 คน เครื่องมือการวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS เพื่อดำเนินการวิเคราะห์ ดังนี้ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งของพยาบาบาลวิชาชีพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านการแข่งขัน มีระดับความคิดเห็นสูงสุด (gif.latex?\bar{X} = 4.46, S.D = 0.582)  และน้อยที่สุด คือ ด้านการหลีกเลี่ยง (gif.latex?\bar{X} = 4.43, S.D = 0.613) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\bar{X}= 4.40, S.D = 0.618) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเวลา มีระดับความคิดเห็นสูงสุด ( gif.latex?\bar{X}= 4.50, S.D = 0.577) และน้อยที่สุด คือ ด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ( gif.latex?\bar{X}= 4.34, S.D = .611) การรับรู้นโยบายภาครัฐด้านสาธารณสุข โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{X} = 4.23, S.D = 0.717) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านโครงสร้างสิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน มีระดับความคิดเห็นสูงสุด (gif.latex?\bar{X} = 4.25, S.D = 0.718) และน้อยที่สุด คือ ด้านบุคลากร (gif.latex?\bar{X} = 4.17, S.D = 0.747) กลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยที่กลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งสามารถร่วมพยากรณ์และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ จังหวัดมหาสารคาม 78.5 % (Adj R2 = 0.785)

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

เนตรนภา ชัยชนะ, วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ชินวัตร เชื้อสระคู, วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

References

ภาษาไทย

กชกร เอ็นดูราษฎร์. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบริษัทโกรเฮ่สยาม จำกัด. วิทยานิพนธ์ รป.ม. (การบริหารทั่วไป). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.

กิตติ ใจ สมุทร. (2022). การจัดการความขัดแย้งด้านการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขของโรงพยาบาลของรัฐในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์).

กิติมา อัศวกำแหงหาญ. (2021). การ บริหารจัดการความขัดแย้งในการทำงานร่วมกันระหว่าง Gen Y (อายุ 24-41 ปี) และ Gen Z (อายุ 9-23 ปี) ของ นักศึกษา CMMU (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัยมหิดล).

เกศรา โชคนำชัยสิริ, & อัจฉรา โพชะโน. (2023).การประเมินผลระบบบริการฉีดวัคซีนป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง. วารสารศูนย์อนามัย ที่ 9: วารสารส่งเสริมสุขภาพ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม, 17(2), 730-747.

แก้ววิบูลย์ แสงพลสิทธิ์. (2534). การศึกษาความขัดแย้งการจัดการกับความขัดแย้งของพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐ กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Retrieved from http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28915

ญาณศรณ์ วิจิตรธาดารัตน์. (2020). การศึกษาปัญหาความขัดแย้งและการจัดการปัญหาความขัดแย้งของผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ในบริบทของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2543). การบริหารและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วรเดช จันทรศร. (2556). ทฤษฎีการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟิก.

สมบัติ ธํารงธัญวงศ์. (2549). การเมืองการปกครองไทย พ.ศ.1762-2500. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: เสมาธรรม.

สมพร เฟื่องจันทร์. (2552). นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการปฏิบัติ.กรุงเทพฯ:บริษัท ออนอาร์ตครีเอชั่น จํากัด.

สันติ ทวยมีฤทธิ์. (2020). การพัฒนากระบวนการบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัดนครราชสีมา.วารสารศูนย์อนามัยที่ 9: วารสาร ส่งเสริม สุขภาพ และ อนามัย สิ่งแวดล้อม, 14(33), 052-070.

สุมลรัตน์ ดอกเขียว. (2010). ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนจากงานการสนับสนุนจากครอบครัวและความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัว: ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานบริการโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง (No. 121119). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นัฐวุฒิ, & จันทร์เพชร์. (2022). การ ศึกษาปัญหาความขัดแย้งและการจัดการปัญหาความขัดแย้งของผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ในบริบทห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัยมหิดล).

ชวิศา ชวกุล, & จรัสพงศ์ คลังกรณ์. (2023). การนำนโยบายการบริหารงานภาครัฐไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารมจรพุทธปัญญาปริทรรศน์, 8 (2), 237-250.

ภาษาอังกฤษ

Abiodun, A.R. (2014). Organizational conflicts: Causes, effects and remedies.International Journal of Academic Research in Economics and Management Sciences, 3(6), 118.

Baker, M. (2018). Translation and conflict: A narrative account: Routledge.

Best, D. L., Williams, J. E., Cloud, J. M., Davis, S. W., Robertson, L. S., Edwards, J. R., & Fowles, J. (1977). Development of sex-trait stereotypes among young children in the United States, England, and Ireland. Child Development, 1375-1384.

Broukhim, M., Yuen, F., McDermott, H., Miller, K., Merrill, L., Kennedy, R., & Wilkes, M. (2019). Interprofessional conflict and conflict management in an educational setting. Medical teacher, 41(4), 408-416.

Bryman, A. (2016). Social Research Methods (5th ed.). Oxford university press. Contu, A. (2019). Conflict and Organization Studies. Organization Studies, 40(10), 1445–1462. https://doi.org/10.1177/0170840617747916

Eggert, M., & Falzon, W. (2018). Resolving Conflict: Management Pocketbooks. Elgoibar, P., Euwema, M., & Munduate, L. (2 0 1 7). Conflict management. In Oxford Research Encyclopedia of Psychology.

Filley, A. C. (1975). Interpersonal conflict resolution. (No Title).

Katz, D., & Kahn, R. L. (1978). Organizations and the system concept. Classics of organization theory, 80(480)

Likert, R., & Bowers, D. G. (2013). Management Systems'. Attitudes, Conflict, and Social Change, 101.

Peterson, E., & Plowman, E. G. (1953). Business organization and management–home wood. Illinois: Richard D. Irwin.

Plowman, E., & Peterson, C. (1989). Business organization and management. Illinois: Irwin.

Ramsay, M. A. E. (2001). Conflict in the health care workplace. BUMC PROCEEDINGS, 14, 138

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity.

Thomas, K. W. (2008). Thomas-Kilmann conflict mode. TKI Profile and Interpretive Report, 1(11).

Thanachotiphan, K., Kalyanamitra, K., Niyomyaht, S., & Kakkhanapichonchat, T. (2022). Management of Thai Health Service Systems During the Covid-19 Crisis. Journal of Local Governance and Innovation, 6(2), 111-130.

Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis.

Yoder, L. H. (1995). Staff nurses' career development relationships and self-reports of professionalism, job satisfaction, and intent to stay. Nursing research, 44(5), 290-297.

Translated References

Kotchakorn Endurat. (2007). Factors affecting the work efficiency of employees of Grohe Siam Company Limited. Thesis, R.P.M. (Management General). Chonburi: Burapha University.

Kitti Jai Samut. (2022). Conflict management in medical and public health services of government hospitals in three provinces.Southern border (Doctoral dissertation, Songkhla Nakarin University).

Kitima Asawakamhaenghan. (2021). Managing conflict in collaboration between Gen Y (ages 24-41) and Gen Z (ages 9-23 years) of CMMU students (Doctoral dissertation, Mahidol University).

Kesara Choknamchaisiri, & Atchara Pochano. (2023). Evaluation of the vaccination service system to prevent the outbreak of coronavirus disease 2019. (COVID-19) Urban Health Development Institute. Health Center Journal No. 9: Journal of Health Promotion and Environmental Health, 17(2), 730-747.

Kaewwiboon Saengphonsit. (1991). Conflict study and conflict management among nurses. Head of the ward in a government hospital Bangkok. Chulalongkorn University, Retrieved from http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28915

Yansorn Wichitthadarat. (2020). Study of conflict problems and conflict management among medical professionals in Context of the medical laboratory.

Tin Prachayapharit. (2000). Management and organizational behavior. Bangkok: Thammasat University.

Woradej Chandrasorn. (2013). Theory of public policy implementation. (6th edition). Bangkok: Phrik Wan Graphic.

Sombat Thamrongthanyawong. (2006). Thai politics and governance. 1762-2500. (4th printing). Bangkok: Sematham.

Somporn Fueangchan. (2009). Public policy: theory and practice. Bangkok: Company. On Art Creation Co., Ltd.

Santi Tuaymerit. (2020). Development of the health strategic management process in Nakhon Ratchasima Province. Health Center Journal No. 9: Promotion Journal Environmental Health and Hygiene, 14(33), 052-070.

Sumonrat Dokkhieo. (2010). The relationship between work support, family support, and work-to-work conflict. Family: Study only the case of service employees of a private hospital (No. 121119). Thammasat University.

Nattawut, & Chanphet. (2022). Study of conflict problems and conflict management of medical professionals in Medical technology laboratory context (Doctoral dissertation, Mahidol University).

Chawisa Chawakul, & Charatphong Klangkorn. (2023). Implementation of public administration policies to prevent the spread of the disease. viral infectious disease Corona 2019 in the upper northern region of Thailand. MCU Journal of Buddhapanya Review, 8 (2), 237-250.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-16