การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง: ศึกษายุทธศาสตร์การหาเสียงของ นายสมศักดิ์ บุญประชม (เสี่ยเซียง) พรรคเพื่อไทรวมพลัง ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2566
คำสำคัญ:
ระบบอุปถัมภ์; ยุทธศาสตร์การเลือกตั้ง; การรณรงค์หาเสียง; พรรคเพื่อไทรวมพลังบทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง “การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง: ศึกษายุทธศาสตร์การหาเสียงของนายสมศักดิ์ บุญประชม (เสี่ยเซียง) พรรคเพื่อไทรวมพลัง ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2566” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การสร้างฐานเสียงและบทบาทการรณรงค์หาเสียงที่นำมาสู่ชัยชนะในการเลือกตั้งของ นายสมศักดิ์ บุญประชม (เสี่ยเซียง) พรรคเพื่อไทรวมพลังในพื้นที่เขตเลือกตั้งที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) กำหนดแนวทางเป็นวิจัยเอกสาร (Documentary Research) การสัมภาษณ์แบบกลุ่ม (Group Interview) และการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Information) ผลการวิจัยพบว่า ยุทธศาสตร์การหาเสียงเน้นไปที่ตัวบุคคลของผู้สมัครมากกว่าพรรค เนื่องจาก ระบบการเลือกตั้งแบบระบบคู่ขนานระหว่างเขตกับสัดส่วน (Mixed Member Majoritarian; MMM Representation) ที่ทำให้ประชาชนสามารถเลือกพรรคและตัวบุคคลแยกออกจากกัน นอกจากนี้ นายสมศักดิ์ บุญประชม สร้างฐานเสียงผ่านการอุปถัมภ์และการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ก่อนช่วงการเลือกตั้ง นายสมศักดิ์ให้ความสำคัญกับความเป็นท้องถิ่นนิยมในตัวบุคคลในการรณรงค์หาเสียง มากกว่านโยบายพรรค หรืออุดมการณ์ทางการเมือง สุดท้าย เข้าใช้การรณรงค์หาเสียงผ่านระบบหัวคะแนนระดับชุมชนและระดับคุ้มในการประชาสัมพันธ์ตัวผู้สมัคร ส่วนการปราศรัยไม่มีการโจมตีพรรคคู่แข่งซึ่งต่างจากพรรคการเมืองอื่น
Downloads
References
ภาษาไทย
CredenData, ม.ป.ป. แนวโน้มการเติบโตของรายได้รวม กำไร (ขาดทุน) และสินทรัพย์รวม ห้างหุ้นส่วน จำกัด อุบลลำปางก่อสร้าง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://data.creden.co/company/general/0343541000241
iLaw. (2566). คู่มือเลือกตั้ง 66 เรียนรู้จากอดีต กาเพื่ออนาคต. ม.ป.ท.
MGR Online. (2566). ม้ามืดของจริง! เพื่อไทรวมพลังล้มช้างเมืองอุบล 2 เขต เผยได้ใจชาวบ้านช่วงโค วิด-19 ระบาด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://mgronline.com/local/detail/9660000044904
WorkpointToday. (2566). เลือกตั้ง 66 ส่องจุดยืนทางการเมือง พรรคไหนร่วมงานกัน ได้-ไม่ได้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://workpointtoday.com/scoop-politic-election/
คมชัดลึกออนไลน์. (2566). เจนใหม่แป้งมัน ‘กังฟู วสวรรธน์’ แม่ทัพ ‘เพื่อไทรวมพลัง’ ต่อสายตรงพิธา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.komchadluek.net/scoop/thongyuttaphop/549257
ชาตรี หุตานุวัตร และคณะ. (2565). ชัยยุทธการเลือกตั้ง: ผู้ครองใจมหาชนจะเป็นผู้ชนะ ศึกชิงมวลชน สงคราม ที่ไม่หลั่งเลือด. กรุงเทพฯ: เสมสิกขาลัย.
นันทพัทธ์ ชัยโฆษิตภิรมย์. (2559). “การเมืองในชีวิตประจำวันของประชาชนในพื้นที่ชนบท กรณีศึกษา ในหมู่บ้านภาคกลางแห่งหนึ่ง.” วารสารสหวิทยาการวิจัย 5(1). Retrieved from https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44623
ประภัสสร สายเพ็ชร. 21 กันยายน 2566. สัมภาษณ์, ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 จังหวัดอุบลราชธานี พรรคก้าวไกล.
ประเทือง ม่วงอ่อน. (2563ก). “จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.” ใน ณัชชาภัทร อมรกุล และ ปุรวิชญ์ วัฒนสุข (บรรณาธิการ). ฉากใหม่การเลือกตั้งไทย การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ใน 7 จังหวัด. นนทบุรี: บริษัท เอ.พี. กราฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด, หน้า 113.
ประเทือง ม่วงอ่อน. (2563ข). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.
พลอยกมล สุวรรณทวิทย์. (2566). ‘Political Fandom’ ปรากฏการณ์แฟนด้อมและความมีส่วนร่วมในการเมืองสมัยใหม่. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thematter.co/social/political-fandom/202560
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2566). ‘การเมือง’ หลังเลือกตั้ง 66 การเปลี่ยนแปลงกับ ‘พลังสื่อโซเชียล’. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://tu.ac.th/thammasat-070666-politics-after-the-election
วสวรรธน์ พวงพรศรี. 25 กันยายน 2566. สัมภาณ์, หัวหน้าพรรคเพื่อไทรวมพลัง.
วัชรินทร์ อินทพรหม. (2562). “การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 10(2). Retrieved from https://so01.tci- thaijo.org/index.php/AJPU/article/view/164379/155988?fbclid=IwAR3CbagNZnt71XT 00fROPoqdBVqHtoGFWTDwNy7D8aLBBvG_x45dItvMbRc
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี. (2561). ระบบการเลือกตั้งเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
สมศักดิ์ บุญประชม. 25 กันยายน 2566. สัมภาษณ์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 จังหวัดอุบลราชธานี พรรคเพื่อไทรวมพลัง.
สมศักดิ์ บุญประชม. (2566). เบอร์ 1 นายสมศักดิ์ บุญประชม ผู้สมัคร ส.ส.เขต10 อุบลราชธานี. [รูปภาพ]. เข้าถึงได้จาก : https://web.facebook.com/photo/?fbid=215644114485937&set=a.19976035940764 6%5C&_rdc=1&_rdr
สุรชัย ตั้งมกรา. (2556). การเมืองเรื่องการเลือกตัง: ศึกษาการหาเสียงเลือกตั้ง วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เขตเลือกตั้งที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดอุบลราชธานี. (2562). ประกาศผลการเลือกตั้ง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : ewt_dl_link.php (ect.go.th)
เจมส์ ซี. สกอตต์. (2543). “ระบบอุปถัมภ์.” ใน อมรา พงศาพิชญ์ และ ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ (บรรณาธิการ). การเมืองในระบบผู้อุปถัมภ์กับผู้รับอุปถัมภ์และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 101-105.
เดชา คำเกิด. (2555). บทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการเลือกตั้งระดับชาติ และท้องถิ่น อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์. การค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง และการปกครอง. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไทยพีบีเอส. (2566). อุบลราชธานี เขต 10. [รูปภาพ]. เข้าถึงได้จาก : https://election66.thaipbs.or.th/result/geo/areas/3410
ไทยพีบีเอส. (2566ก). ล้มแชมป์อุบลฯ พรรคม้ามืด “เพื่อไทรวมพลัง” คว่ำเพื่อไทยตกเก้าอี้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaipbs.or.th/news/content/327810
เพียงกมล มานะรัตน์. (2547). การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง : ศึกษากรณีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี ของเทศบาลนครเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2547. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอซิโอ มานซินี่. (2562). การเมืองแห่งชีวิตประจำวัน. นนทบุรี: อินี่ เครือข่าย นวัตกรรมสากล จำกัด.
แอนดรูว์ วอล์กเกอร์. (2559). ชาวนา การเมือง อำนาจในเศรษฐกิจชนบทสมัยใหม่ของไทย. นนทบุรี: ฟ้า เดียวกัน.
แอนโทนี่ ฮอลล์. (2543). “ระบบอุปถัมภ์.” ใน อมรา พงศาพิชญ์ และ ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ (บรรณาธิการ). ความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปถัมภ์และผู้รับอุปถัมภ์ แนวคิด และคำศัพท์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 27-29.
Translate References
Bunprachom, S. 25 September 2023. Interview, Member of the House of Representatives, District 10, Ubon Ratchathani Province. Pheu Thai Party.
Boonprachom, S. (2023). Number 1 Mr. Somsak Boonprachom, MP candidate, District 10, Ubon. [Photo]. Retrieved from: https://web.facebook.com/photo/?fbid=215644114485937&set=a.19976035940764 6%5C&_rdc=1&_rdr
Chaikositpirom, N. (2016). “Politics in the daily life of people in rural areas: A case study in a village in the central region.” A Journal of Interdisciplinary Research 5(1). Retrieved from https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44623
CredenData. n.d. A tends to grow income and lose profits, including limited partnerships. Ubon Lampang Construction. [Online]. Retrieved from https://data.creden.co/company/general/0343541000241
Hutanuwat. C. and others. (2022). An election victory: The person who dominates the hearts of the people will be the winner: The battle for the masses is a war that does not shed blood. Bangkok: Thailand.
Intaprom, W. (2019). “Analysis and presentation of qualitative data analysis results.” Academic Journal Phranakhon Rajabhat University 10(2). Retrieved from https://so01.tci- thaijo.org/index.php/AJPU/article/view/164379/155988?fbclid=IwAR3Cba gNZnt71XT 00fROPoqdBVqHtoGFWTDwNy7D8aLBBvG_x45dItvMbRc
iLaw. (2023). An election Guide 66: Learning from the past for the future.
N.P. Hall, A. (2000). “The foster care system.” In Amara Phongsaphit and Preecha Kuwinphan. (editor). The relationship between sponsor and recipient, concepts, and vocabulary. Bangkok: Chulalongkorn University Press, pp. 27-29.
Khamkerd, D. (2012). The role of local leaders in national and local elections, Prasat District, Surin Province. Independent research according to the Master of Political Science degree program Political subject and governance. Chiang Mai University.
Kom Chad Luek Online. (2023). A new generation of tapioca starch 'Kung Fu Wasawat', a general of 'Pheu Thai Unite Power', direct line to Pitha. [Online]. Retrieved from https://www.komchadluek.net/scoop/thongyuttaphop/549257
Mancini, E. (2019). The politics of everyday life. Nonthaburi: Ini International Innovation Network Co., Ltd.
Manarat, P. (2004). Election politics: A case study of the mayoral election campaign of Chiang Mai Municipality, year 2004. Master's degree thesis. Department of Administration Department of Government. Chulalongkorn University.
MGR Online. (2023). A real dark horse! Pheu Thai joins forces to defeat the elephants of Ubon Ratchathani in 2 districts, revealing that it has won the hearts of villagers during the COVID-19 outbreak. [Online]. Retrieved from https://mgronline.com/local/detail/9660000044904
Muang-on, P. (2020a). “Ubon Ratchathani Province in the election of members of the House of Representatives.” in Natchapat Amornkul and Purawit Wattanasuk (editors). A new scene of the Thai elections, elections for members of the House of Representatives, 24 March 2019 in 7 provinces. Nonthaburi: A.P. Graphic Design and Printing Company Limited, p 113.
Muang-on, P. (2020b). A study of political movements and election behavior. Member of the House of Representatives 2019, Ubon Ratchathani Province. Bangkok: Office of Research and Development, King Prajadhipok's Institute.
Office of the Provincial Election Commission, Ubon Ratchathani. 2019. Election results announced. [Online]. Retrieved from: ewt_dl_link.php (etc.go.th)
Puangphonsri, W. 25 September 2023. Interview, leader of Pheu Thai Ruam Power Party.
Saipet, P. 21 September 2023. Interview, A candidate for The House of Representatives, District 10, Ubon Ratchathani Province, Progressive Party.
Sawadee, N., S. (2018). Comparative election systems. Bangkok: Siam Review.
Scott, J.C. (2000). “The foster care system.” In Amara Phongsaphit and Preecha Kuwinphan. (editor). Politics in the patron-recipient system and political changes in Asia Southeast. Bangkok: Chulalongkorn University Press, pp. 101-105.
Suwannawit, P. (2023). 'Political Fandom', the phenomenon of fandom and participation in Modern politics. [Online]. Retrieved from https://thematter.co/social/political- fandom/202560
Tangmaka, S. (2013). Election politics: A study of the election campaign on July 3, 2011, Election District 5. Master's thesis. Department of Administration, Department of Administration, Chulalongkorn University.
Thai PBS. (2023). Ubon Ratchathani District 10. [Photo]. Retrieved from https://election66.thaipbs.or.th/result/geo/areas/
Thai PBS. (2023a). Defeats the champion of Ubon Ratchathani. The dark horse party "Pheu Thai Ruam Power" defeats Pheu Thai and falls out of the chair. [Online]. Retrieved from https://www.thaipbs.or.th/news/content/327810
Thammasat University. (2023). 'Politics' after election 66, changes with 'The power of social media'. [Online]. Retrieved from 070666-politics-after-the-election.
Walker, A. 2016. Farmers, politics, power in Thailand's modern rural economy. Nonthaburi: same sky.
WorkpointToday. (2023). Election 66, is a look at political positions which is whether parties can or cannot work together or not. [Online]. Retrieved from https://workpointtoday.com/scoop-politic-election/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.