แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตำบลนาจารย์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

ผู้แต่ง

  • ผกาสรณ์ ศรีสว่างวงศ์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • อาริยา ป้องศิริ ผู้ช่วยศาสตราจารย์, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

คำสำคัญ:

สมรรถนะ; แนวทาง; การพัฒนา; องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับสมรรถนะบุคลากรและเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตำบลนาจารย์ อำเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามสำรวจ จำนวน 47 ชุด และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 8 คน พบว่า ภาพรวมระดับสมรรถนะหลักของบุคลากรเทศบาลตำบลนาจารย์ อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นในงานของบุคลากรเทศบาลตำบลนาจารย์ ด้านสมรรถนะ “การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม” อยู่ในระดับมากที่สุด (X ̅   = 4.53, S.D.= 0.58) ส่วนสมรรถนะที่ต้องมีแนวทางการพัฒนาต่อไปคือ สมรรถนะ “การมุ่งผลสัมฤทธิ์” อยู่ในระดับมาก (X ̅   = 4.10, S.D.= 0.62) ตามลำดับ ในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ บุคลากรของเทศบาลตำบลนาจารย์ ต้องได้รับการฝึกอบรม ศึกษาดูงานนอกสถานที่ พัฒนาเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ มีพี่เลี้ยงคอยกำกับดูแล ติดตามประเมินผลงานอย่างสม่ำเสมอและใกล้ชิด รวมถึงพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม มีการกำหนดเป้าหมาย หรือกำหนดเป็นแผนแนวทางในการพัฒนาต่อไป

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

ภาษาไทย

กานต์รวี วิชัยปะ. (2559). การสร้างสมรรถนะเฉพาะงานของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย

สาธารณะภัยระดับปฏิบัติการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดแพร่. วารสารการบริหาร

ปกครองมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 5(2), 75-103.

จิรประภา อัครบวร. (2549). สร้างคนสร้างผลงาน. กรุงเทพมหานคร : ก.พลพิมพ์.

ช่อพฤกษ์ ผิวกู่ และไชยา ยิ้มวิไล. (2564). รูปแบบสมรรถนะพิเศษของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์. 23(2), 107–127.

ทรัพย์อนันต์ ชูศรีทอง และภักดี โพธิ์สิงห์. (2562). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสุรินทร์. 21(2), 111-121.

นพพล อัคฮาด. (2560). แนวทางการจัดการทุนมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยเพื่อมุ่งสู่การเป็น

องค์การที่มีสมรรถนะสูงในการให้บริการสาธารณะในศตวรรษที่ 21. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 4(1), 1-30.

พิชยา เจริญสุกใส, เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์, รัชยา ภักดีจิตต์ และสุพัตรา ยอดสุรางค์. (2565). การบริหา

จัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง. วารสาร Lawarath SocialE-

Journal. 5(2), 193-208.

พิชิต เทพวรรณ์. (2554). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ : แนวคิดและกลยุทธ์เพื่อความได้เปรียบ

ทางการแข่งขัน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

วรรณา พิสิฐศุภมิตร. (2550). แบบของผู้นำที่มีสมรรถนะในระบบราชการพลเรือนไทย. ดุษฎีนิพนธ์-ปรัชญา

ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ภาษาอังกฤษ

Boam, R., & Sparrow, P. (1992). Designing and Achieving Competency: Competency-Based

Approach to Development People and Organization. England: McGraw-Hill.

Dales, M and Hes, K. (1995). Creating Training miracles. Sydney: Prentice Hall.

Marmon, D.H. (2002). Core Competencies of Professional Service Providers in

Federally Funded Education Programs” Ph.D. Dissertation. The University of

Tennessee, United States – Tennessee.

Rovinelli, R. J., and Hambleton , R. K. (1997). On the use of content specialists in the

assessment of criterion – referenced test item validity. Dutch Journal of

Educational Research. 2, 49–60.

Translated References

Chorphruek Phewku and Chaiya Yimwilai. (2021), Special competency model of local

govemment Organization personnel in Tak Special Economic Development Zone Area, Human Society Review Journal, 23(2), 107-127.

Jiruprapa Akaraworn. (2006). Creating people who create works. Bangkok : K,Phonphim

Karnrawee Wichaipa. (2016). Creating work-specific competencies of public disaster

prevention and relief employees. Operational level public disaster of | local

government organizations, Phrae Province, Administrative Journal Administrative

Department of Kalasin University, 5(2), 75-103.

Noppon Akhad. (2017). Guidelines for human capital management of Thai local govemment

Organizations in order to become Organizations with high performance in public services In the 21st century. Political Science Review Joumal Kasetsart University, 4(1), 1-30.

Pitchaya Charoensuksai, Chaowarit Chaosaengrat, Ratchaya Phakdejit and Supattra |

Yodsurang (2022), Local government organization management towards becoming

a high performance Organization, Lawarath SocialE -Journal. 5(2), 193-208.

Phichit Thepwan. (2011). Strategic human resource management: concepts and strategies

for Advantage. Official competition Bangkok: SE-ED Education

Sapanant Chusrithong and Phakdee Phosingh. (2019), Model of competency development

of personnel of local government organizations in the northeastern region, Journal

of Humanities and Social Sciences, Surin Rajabhat University, 21(2), 111-121.

Wanna Pisitsuphamit. (2007). Styles of competent leaders in the Thai civil service system,

Doctor of Philosophy- Philosophy Thesis, Ramkhamhaeng University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-22