Activities about “Tech less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students.

Main Article Content

Dr.Thip-anong Gulgate

Abstract

The purposes of this research were to 1) study lesson/learn the activities 2) develop the activities 3) Implemented the activities and 4) Evaluat the activities about “Teach less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students. The methodology of this research was Research & Development. The research tools were test, rubric scoring and questionnaires with the students on semester 1 academic year 2018. The percentage average standard deviation and content analysis statistical were used in this research. The research findings were: 1. The component of activities about “Teach less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students consisted of explanatory, goal, step, objective, unit of learning, resources, assessment and direction 2. The achievement on activities about “Teach less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students  2.1 The students had an post-test average score of 17.60. The standard deviation was 0.78. 2.2 The performance results on activities overall was in high level (average was 82.50 and S.D. was 0.17). In addition, Creative in Dance formation was in the highest level. 2.3 The satisfaction in overall was excellent (average was 4.81 and S.D. was 0.44).  3. evaluation was found to be effective at all levels. The mean was 4.29. The standard deviation was 0.47.

Article Details

How to Cite
Gulgate, D.- anong. (2020). Activities about “Tech less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students. Saengtham College Journal, 12(2), 68–93. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/scj/article/view/245843
Section
Research Articles

References

ปกครอง บัววิรัตน์เลิศ พัชรีวรรณ กิจมี. (2559). ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อโครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา. (งานวิจัยหลักสูตรมหาบัณฑิต). สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.

ชัยภัทร วทัญญู. (2558). ผลการพัฒนาทักษะของชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลบ้านหมอ (พัฒนราษฏร์) โดยใช้กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เรื่องทำกินได้ ทำขายดี. สระบุรี: โรงเรียนอนุบาลบ้านหมอ.

จุฑามาศ สุธาพจน์ ธีระดา ภิญโญ. (2559). แนวทางการบริหารกิจกรรมการเรียนรู้ตามนโยบาย "ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้" ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2. (งานวิจัยหลักสูตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สุกัญญา งามบรรจง. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ศลิษา ชุ่มวารี. (2557). การพัฒนาความรู้ความเข้าใจอย่างถาวรด้านนาฏศิลป์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยการใช้ชุดการสอนเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย.

พัชนีพงศ์ คล่องนาวา. (2553). การพัฒนาความสามารถในการรำวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Fosnot Ganesh. (1996). Competency Based HRM. Tata McGraw-Hill Publishing Company Limited: New Delhi.

Papert, Lyle M.; & Spencer, M. Signe. (1991). Competency at work. New York: Willey.

Vygotsky. (1962). “Emotional Intelligence and Core Competencies” Journal of Extension. December 1999, 37(6): 20-29.

Stufflebeam,D.,Shinkfield, A., (2007). Evaluation theory, model, & application. San Francisco: Jossey – Bass.

Oliva, P.F. (1992). Developing the Curriculum. (3 rd ed). New York: Harper Collins.