ความสัมพันธ์ของการกำกับดูแลกิจการ ความเสี่ยงในการล้มละลาย และผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • Wichitra Chamlongrath คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

การกำกับดูแลกิจการ, ความเสี่ยงในการล้มละลาย, ผลการดำเนินงาน, บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อตรวจสอบทิศทางความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการซึ่งวัดในรูปของคะแนนระดับการกำกับดูแลกิจการที่ประเมินโดยคณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ กับความเสี่ยงในการล้มละลายของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เพื่อตรวจสอบทิศทางความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการ กับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ 3) เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ของการกำกับดูแลกิจการ ความเสี่ยงในการล้มละลาย และผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์เป็นตัววัดผลการดำเนินงานของกิจการ  ผู้วิจัยดำเนินการสำรวจและเก็บข้อมูลจากงบการเงินประจำปี พ.ศ. 2559 ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และข้อมูลคะแนนการกำกับดูแลกิจการ จำนวน 309 บริษัท  โดยใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ด้วยวิธีของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ  ผลการวิจัย พบว่า 1) การกำกับดูแลกิจการไม่มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงในการล้มละลายของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) การกำกับดูแลกิจการไม่มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ 3) ความเสี่ยงในการล้มละลายมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานของกิจการที่วัดด้วยกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จต่อสินทรัพย์รวมเฉลี่ย  แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานของกิจการที่วัดด้วยกำไรสุทธิต่อสินทรัพย์รวมเฉลี่ย  

References

กังสดาล แก้วหานาม, ศิริลักษณ์ ศุทธชัย, และนภาพร ลิขิตวงศ์ขจร. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่ประเมินโดยสมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทยกับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 6(1), 44-53.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2555). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

นิพนธ์ เห็นโชคชัยชนะ. (2558). เอกสารการสอนชุดวิชาการวิจัยทางธุรกิจ การวางแผน และการควบคุมทางการเงิน หน่วยที่ 15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: โรงพิมพ์สุโขทัยธรรมาธิราช.

พลับพลา เจริญสมบัติอมร. (2558). การกำกับดูแลกิจการกับการพยากรณ์ภาวะความล้มเหลวทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การศึกษาอิสระการบัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วรกมล เกษมทรัพย์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการและผลการดำเนินงานของกิจการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การศึกษาอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วิจิตรา จำลองราษฎร์ และคณะ. (2560). โอกาสในการล้มละลายของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาการจัดการวิชาการ 2017” หน้า 602-608. วันที่ 27 มกราคม 2560 จ.เชียงราย.

วิจิตรา จำลองราษฎร์. (2558). รายงานทางการเงินและการวิเคราะห์งบการเงิน. เอกสารคำสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, พิษณุโลก.

วิจิตรา จำลองราษฎร์ และคณะ. (2557). ตัวอย่างของความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างเงินทุนและมูลค่าของกิจการภายใต้ภาวะความไม่สมมาตรของข้อมูล. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาการจัดการวิชาการ 2014” หน้า 283-291. วันที่ 21-22 มีนาคม 2557 จ.พิษณุโลก.

สัตยา ตันจันทร์พงศ์. (2558). การกำกับดูแลกิจการที่ดีมีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานผ่านการวางแผนภาษีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 20(2), 105-113.

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2560). CGR 2016 Report. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2560, จาก https://www.thai-iod.com/imgUpload/CGR%202016%20Report(1).pdf

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2558). CGR 2014 Report. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2558, จาก https://www.thai-iod.com/th/publications-detail.asp?id=254

สรียา พันธุ์ณรงค์. (2553). การกำกับดูแลกิจการ: การประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการพยากรณ์ความล้มเหลวของกิจการ. วารสารวิชาการและวิจัยมทร.พระนคร, 4(2).

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2560). การกำกับดูแลกิจการที่ดีและการพัฒนากิจการเพื่อความยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2560, จาก https://www.cgthailand.org/TH/principles/CG/Pages/cg-concept.aspx

เสกศักดิ์ จำเริญวงศ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคมกับผลกระทบที่มีต่อมูลค่าร่วมของกิจการ : กรณีประเทศไทย. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 21(2), 150-175.

อัญชลี พิพัฒนเสริญ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2560). การตอบสนองของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกับธรรมาภิบาล คุณภาพกำไร และผู้สอบบัญชี. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13(40), 22-31.

อัญญา ขันธวิทย์, ศิลปพร ศรีจั่นเพชร และเดือนเพ็ญ จันทร์ศิริศรี. (2552). การกำกับดูแลเพื่อสร้างมูลค่ากิจการ. กรุงเทพฯ: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

อัฐวุฒิ ปภังกร. (2556). ทฤษฎีบรรษัทภิบาล. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2560, จาก https://thaicg.wordpress.com/tag/stakeholders/

Abatecola, G., Caputo, A., Mari, M., & Poggesi, S. (2012). Relations among corporate governance, codes of conduct, and the profitability of public utilities: An empirical study of companies on the Italian Stock Exchange. International Journal of Management, 29(2), 611-626.

Altman, E. I. (1968). “Financial Ratio Discriminant Analysis and The Prediction of Corporate Bankruptcy”. Journal of Finance, 23(4), 589-609.

Ammann, M., Oesch, D. & Schmid, M. (2011). Corporate governance and firm value: International Evidence. Journal of Empirical Finance, 18(1), 36-55.

Barnard, C. I. (1938). Functions of the execu¬tive. Cambridge, MA: Harvard University Press.

Ben, P. J. (2014). Corporate governance index and firm performance. Journal of Contemporary Research in Management, 9(3), 33-44.

Connelly, J.T., Limpaphayom, P., & Nagarajan, N.J. (2012). Form versus substance: The effect of ownership structure and corporate governance on firm value in Thailand. Journal of Banking & Finance, 36, 1722-1743.

Darrat, A.F., Gray, S., Park, J.C., & Wu, Y. (2016). Corporate governance and bankruptcy risk. Journal of Accounting, Auditing & Finance, 31(2), 163-202.

Donaldson, T. & Preston, L. E. (1995). The stakeholder theory of the corporation: concepts, evidence, and implications. The Academy of Management Review, 20(1), 65-91.

Epps, R. W. & Cereola, S. J. (2008). Do institutional shareholder services (ISS) corporate governance ratings reflect a company operating performance? Critical Perspectives on Accounting, 19, 1135-1148.

Fernandez, M. R. (2016). Social responsibility and financial performance: The role of good corporate governance. BRQ Business Research quarterly, 19, 137-151.

Freeman, R. E. (1994). The politics of stake¬holder theory: Some future directions. Business ethics quarterly, 4(4), 409-421.

Freeman, R.E., Wicks, A.C. and Parmar, B. (2004). Stakeholder theory and the corporate objective revisited. Organization Science, 15(3), 364-369.

Goel, P. (2016). Impact of corporate governance practices on firm profitability: A study of selected industries in India. Journal of Finance, Accounting and Management, 7(2), 53-74.

Jensen, M.C. & Meckling, W.H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs and ownership structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305–360.

Maher, M. & Andersson, T. (1999). Corporate governance: Effects on firm performance and economic growth. The Tilburg University Law and Economics Conference on “Convergence and diversity in corporate governance regimes and capital markets”, 4-5 November 1999. Eindhoven, the Netherlands.

Michelon G. & Parbonetti A. (2012). The effects of corporate governance on sustainability Disclosure. Journal of Management and Governance, 16(3), 477-509.

Myers, S.C. & Majluf, N.S. (1984). Corporate financing and investment decisions when firms have information that investors do not have. Journal of Financial Economics, 13, 187-221.

Price, R., Román, F.J., & Rountree, B. (2011). The impact of governance reform on performance and transparency. Journal of Financial Economics, 99(1), 76-96.

Roy, A. (2014). Corporate governance rating and its impact on firm level performance and valuation. Delhi Business Review, 15(2), 71-79.

Sami, H., Wang, J. T. & Zhou, H. (2011). Corporate Governance and Operating Performance of China Listed Firms. Journal of International Accounting, Auditing and Taxation, 20, 106-114.

Titman, S., & Wessels, R. (1988). The determinants of capital structure choice. Journal of Finance, 43(1), 1-19.

Williamson, O. E. (1988). Corporate finance and corporate governance. Journal of Finance, 43(3), 567-591.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-06-2018

How to Cite

Chamlongrath, W. (2018). ความสัมพันธ์ของการกำกับดูแลกิจการ ความเสี่ยงในการล้มละลาย และผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(1), 60–81. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/GraduatePSRU/article/view/130908