เมื่อสถานการณ์ที่มีทรัพยากร ข้อจำกัด และปัจจัย ใกล้เคียงกัน แต่เกิดผลลัพธ์ที่แตกต่างกันอย่างมาก สิ่งที่เป็นสาเหตุสร้างความแตกต่างนั้นมักจะเป็นการจัดการ ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร ลดอุปสรรคจากข้อจำกัด ควบคุมปัจจัยสร้างระบบให้ดีได้

บทความในวารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ฉบับนี้ เผยแพร่กรณีศึกษาและองค์ความรู้ที่มีประโยชน์ในการจัดการชุมชนที่เปลี่ยนแปลงกลายเป็นเมือง ขยะชุมชน การท่องเที่ยว บุคลากรด้านสาธารณสุข การเรียนการสอน รวมถึงระบบวิจัยในมหาวิทยาลัย ซึ่งในประเด็นการจัดการระบบวิจัยนั้นเป็นที่กล่าวถึงและได้รับความสนใจมากขึ้น ว่ามีความสำคัญควบคู่กับการพัฒนาโจทย์วิจัยและพัฒนานักวิจัย แต่ยังมีบทความวิชาการและวิจัยเกี่ยวกับการจัดการงานวิจัยเผยแพร่จำนวนน้อย จึงขอเชิญชวนผู้บริหารในสถาบันอุดมศึกษาใช้วารสารเป็นช่องทางร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้มีการอ้างอิงและปรับใช้ตามบริบทต่อไป

Published: 2017-05-01

การประเมินระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยวิจัยนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน (ระยะที่ 2)

มนตรี สังข์ทอง, ประภาส กลับนวล, ศศินันท์ ศาสตร์สาระ, อามีนะห์ ไชยธารี, พรพิมล เชียรพิมาย

155-166

แผนการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนสามเรือน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ธารนี นวัสนธี, สุขุม คงดิษฐ์, วรรษา พรหมศิลป์, เบญจพร เชื้อผึ้ง, ธาริดา สกุลรัตน์, จุฬารัตน์ ชัยพิทักษ์, บุญสมหญิง พลเมืองดี

167-177

การกลายเป็นเมืองของชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยา: กรณีศึกษา ตำบลแม่กา จังหวัดพะเยา

ฉัตรทิพย์ ชัยฉกรรจ์, พรรณยุพา นพรัก, ดารารัตน์ คำเป็ง, นิศาชล พรหมรินทร์, ไพรินทร์ ขัดธิพงษ์, ณัฐฑรี สินธุนาวา พงษ์พิพัฒน์, กัญณภัทร วศะวัน

178-190