ความมั่นคงของมนุษย์ในกลุ่มผู้สูงอายุจังหวัดขอนแก่น

ความมั่นคงของมนุษย์ในกลุ่มผู้สูงอายุจังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • Sukanya Aimimtham
  • Imron Soksan
  • Kaniknan Saengmahachai

คำสำคัญ:

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นเปรียบเทียบกับระดับประเทศ และเพื่อเสนอแนวทางสร้างความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น การวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มาใช้บริการสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัดขอนแก่นในส่วนศูนย์บริการผู้พิการกลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้สูงอายุทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจังหวัดขอนแก่น เชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม จำนวน 200 คน ในเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ 7 คน สถิติที่ใช้ในเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านกลับพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านสังคมและวัฒนธรรมประเพณีตามลำดับ โดยมีข้อเสนอให้สนับสนุนผู้สูงอายุให้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการจัดเบี้ยเลี้ยงสำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่าพาหนะสำหรับการเดินทางไปเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรือการจัดชมรมผู้สูงอายุอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อให้ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น คำสำคัญ: ความมั่นคงมนุษย์; ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุ; ตัวชี้วัดความมั่นคง มนุษย์; จังหวัดขอนแก่น

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นเปรียบเทียบกับระดับประเทศ และเพื่อเสนอแนวทางสร้างความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น การวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มาใช้บริการสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัดขอนแก่นในส่วนศูนย์บริการผู้พิการกลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้สูงอายุทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจังหวัดขอนแก่น เชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม จำนวน 200 คน  ในเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ 7 คน สถิติที่ใช้ในเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านกลับพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านสังคมและวัฒนธรรมประเพณีตามลำดับ โดยมีข้อเสนอให้สนับสนุนผู้สูงอายุให้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการจัดเบี้ยเลี้ยงสำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่าพาหนะสำหรับการเดินทางไปเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรือการจัดชมรมผู้สูงอายุอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อให้ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น

คำสำคัญ:

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นเปรียบเทียบกับระดับประเทศ และเพื่อเสนอแนวทางสร้างความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น การวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มาใช้บริการสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัดขอนแก่นในส่วนศูนย์บริการผู้พิการกลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้สูงอายุทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจังหวัดขอนแก่น เชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม จำนวน 200 คน  ในเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ 7 คน สถิติที่ใช้ในเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านกลับพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านสังคมและวัฒนธรรมประเพณีตามลำดับ โดยมีข้อเสนอให้สนับสนุนผู้สูงอายุให้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการจัดเบี้ยเลี้ยงสำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่าพาหนะสำหรับการเดินทางไปเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรือการจัดชมรมผู้สูงอายุอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อให้ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น

คำสำคัญ: ความมั่นคงมนุษย์; ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุ; ตัวชี้วัดความมั่นคง
              มนุษย์; จังหวัดขอนแก่น

 

 

 

 

References

เอกสารอ้างอิง

กมลพรรณ หอมนาน. 2539. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
การรับรู้สมรรถนะในตนเองกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ.
สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

กมลวรรณ จันทรโชติ. 2524. ความมั่นคงในชีวิตของผู้ประกอบอาชีพอิสระแผง
ลอยเสื้อผ้าสำเร็จรูปตลาดนัดจตุจักร. สังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. 2558 .ประวัติความเป็นมา. ค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2559,
จาก http://www.dop.go.th/.

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ และ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2549. การนิยามสังคมปลอดภัยในบริบทสังคมไทยสู่การพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์. รายงานวิจัย กระทรวงพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงมนุษย์.

กาญจนา ปัญญาธร. 2555. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับความมั่นคงใน
ชีวิตของผู้สูงอายุ จังหวัดอุดรธานี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข,
ปีที่12,. (20 พฤศจิกายน 2559).

กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน. 2558
“คลังความรู้ผู้สูงอายุ.”ค้นเมื่อ17 ตุลาคม 2559, จาก
http://www.royin.go.th/.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2557). สังคมโลกสังคมผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ:
โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

เขมาภรณ์ เพิ่มหรรษา. 2554. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของ
ตนเองของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองยะลา.รายงานการศึกษาอิสระ
ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฐิติมา คุ้มสาย. 2550. พฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุของผู้สูงอายุ ตำบลห้วยพลู
อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ประนอม โอทกานนท์. 2537. ความต้องการการพยาบาลของผู้สูงอายุในชมรมและ
สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ. รายงานวิจัย. คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

ภานุ อดกลั้น. ทฤษฎีการสูงอายุ. ค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2559,
จาก http://223.25.197.99/bcnuold.

รศรินทร์ เกรย์ และคณะ. 2556. “มโนทัศน์ใหม่ของนิยามผู้สูงอายุ : มุมมองเชิง
จิตวิทยาสังคม และสุขภาพและความมั่นคงในชีวิตของคนไทย.” ค้นเมื่อ
17 ตุลาคม 2559, จาก .http://www.nesdb.go.th.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. พิมพ์ครั้งที่ 6 . กรุงเทพ :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2538.
สมจิต หนุเจริญกุล บรรณาธิการ. การพยาบาลทางอายุรศาสตร์ (เล่ม 1). พิมพ์ครั้ง
ที่ 12.กรุงเทพ : วี.เจ. พริ้นติ้ง, 2539.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2549. “นิยาม
ความหมายของการอยู่ดีมีสุขและความมั่นคงในชีวิตของคนไทย.” ค้น
เมื่อ17 ตุลาคม 2559,จากhttp://www.nesdb.go.th.

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัดขอนแก่น. (2558). โครงสร้าง
องค์กร. ค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2559,
จาก http://www.khonkaen.m-society.go.th/kk/.

สำนักงานสถิติจังหวัดขอนแก่น. (2558). สถิติประชากร พ.ศ.2558. ค้นเมื่อ 20
พฤศจิกายน 2559, จาก http://khonkaen.nso.go.th/index.php.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557).ผลการสำรวจประชากรสูงอายุ พ.ศ. 2557. ค้นเมื่อ
24 ตุลาคม 2559, จาก http://www.nso.go.th/.

อภิชญา จิ๋วพัฒนกุล, วรางคณา อดิศรประเสริฐ, และศุภิณญา ญาณสมบูรณ์. (2554).
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมและการใช้จ่ายของผู้สูงอายุ. สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย (อาคารนวัตกรรม ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Eliopoulos, C .Manual of Generontological Nursing. St. Louis: Mosby
Year Book, 1995.
Erikson E: Epigenetic Theory. Norton, New York, 1968.

Sukhothai Thammathirat Open University. (2557). “นิยาม: สังคมผู้สูงอายุ.”
ค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2559, จาก http://www.stou.ac.th.

Yorick, A, G, ed.all.The Aged Person and the Nursing Process.3 rd.ed.
New York :AppletonAndlange, 1989.

Translated Thai References

Chantarachot, K. (1981). Human Security of the Clothing Merchandises at Chatuchak, Faculty of Social Administration, Thammasat University.

Chareonwongsak, K. (2014). Elderly World Society, Bangkok: National Buddhist Department Printing.

Chiewpattanakul, A., Adisornprasert, W. , & Yansomboon. S. (2011). Factors Affecting Saving and Spending Behavior of the Elderly, Strategic Wisdom and Research Institute, Srinakharinwirot University.

Department of Older Persons. (2015). History and Background. Retrieved November 25, 2016, from http://www.dop.go.th/.

Grey, R. et al. (2013). The New Paradigm of the Elderly Definition: Psycho-Sociology, Health and Human Security of Thais – realization in Value and Competency and Self Care Behavior perspective of Thais. Retrieved October 17, 2016 from http://www.nesdb.go.th.

Hanujaroenkun, S. (1996). Editor. The Medicine Nursing (vol.1) (12th ed.). Bangkok: VJ Printing.

Homnan, K. (1991). The Relationship between self – realization in value and Competency and self care behavior of the Elderly people, Master in Nursing science program in adult nursing, Graduate School, Mahidol University.

Keawkungwal, S. (1995). The On-going Life Development Psychology (6th ed.). Bangkok: Thammasat University Press.

Khon Kaen Provincial Social Development and Human Security office. (2015). Organization Structure. Retrieved October 24, 2016 from, from http://www.khonkaen.m-society.go.th/kk/.

Khon Kaen Provincial Statistics Bureau. (2015). Population Statistics in 2015. Retrieved November 20, 2016 from http://khonkaen.nso.go.th/index.php.

Khumsai, T. (2007). The Accident Preventive Behaviour of the Elderly in Tambol Huayplu, Nakhonchaisri District, Nakhonpathom, Master of Art in Community Psychology, Graduate School, Silpakorn University.

Ministry of Social Development and Human Security and Sukhothai Thammathirat (Open)University. (2006). The Definition of Safety Society in Thai Context for Social Development and Human Security, Ministry of Social Development and Human Security Research Report.

Naksakul, K. (2015) Royal Scholar, Office of Art and Culture of the Royal Society. Knowledge Think Tank of the Elderly. Retrieved October 17, 2016 from http://www.royin.go.th/.

National Statistics Bureau (2014). Survey of The Elderly Citizen 2014. Retrieved October 24, 2016 from http://www.nso.go.th/.

Odklun, P. The Elderly Theory. Retrieved October 17, 2016 from http://223.25.197.99/bcnuold.

Office of the National Economic and Social Development Board. (2006). The Definition of Well- Being and Human Security of the Thais. Retrieved October 17, 2016 from http://www.nesdb.go.th.

Othaganont, P. (1994). The Needs of Nursing Care of the Elderly in Nursery House, Research Report of Faculty of Nursing, Chulalongkorn University.

Panyathorn, K. 2012. The Relationship between Selected Factors and Human Security of the Elderly in Udonthani, Nursing Journal of The Ministry of Public Health, (vol. 12th). Retrieved November 20, 2016.

Phemhunsa, K. (2011). Factors Affecting the Needs to Own Personal Residents of the Municipal Inhabitants in Yala, Independent Study Report of Master in Administration program, Graduate School of Public Administration, Burapha University. https://www.tci-thaijo.org/index.php/gjournal-ksu/$$$call$$$/grid/users/author/author-grid/add-author?submissionId=163734

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2018-12-26

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)