การวิเคราะห์ปัญหาการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในอำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์

ผู้แต่ง

  • ชรินทร์ ทริเพ็ง หลักสูตรเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • ณัฐพงษ์ ศรีสมุทร สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • สายัญ พันธ์สมบูรณ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

คำสำคัญ:

ข้อเสนอเชิงนโยบาย; ดอนจาน; กาฬสินธุ์; มันสำปะหลัง; ส่งเสริมการเกษตร

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการส่งเสริมการเกษตร แปลงใหญ่เพื่อผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรในอำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์ ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตรที่มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในอำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์ มีสัดส่วนที่ผิดพลาดได้ในที่นี้กำหนดไว้ (0.05) จำนวน 400 ราย โดยใช้แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกร  ร้อยละ 62.50 เป็นเพศชาย  อายุเฉลี่ย 37.75 ปี ปลูกมันสำปะหลังเป็นอาชีพหลัก ร้อยละ 70.60  ร้อยละ 56.00 เกษตรกรไม่มีการรวมกลุ่ม ผลผลิตเฉลี่ย 4,265  กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 63.5จ ต้องการเทคโนโลยี ใน แน่นอน ร้อยละ 49.75 ต้องการผลิตมันสำปะหลังแบบมีส่วนร่วม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเกษตรกรมีความต้องการการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ด้านการตลาดที่แน่นอน เทคโนโลยีที่ทันสมัย และ การลดต้นทุนการผลิต ปัญหาการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแปลงใหญ่ คือ เงื่อนไขที่เยอะเกินไป ทำให้เกษตรกรเกิดปัญหาในการผลิตมันสำปะหลังในรูปแบบแปลงใหญ่ของอำเภอดอนจาน

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

ชรินทร์ ทริเพ็ง, หลักสูตรเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

หลักสูตรเทคโนโลยีการเกษตร, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ณัฐพงษ์ ศรีสมุทร, สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

สายัญ พันธ์สมบูรณ์, สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

References

ภาษาไทย

กรมส่งเสริมการเกษตร. ระบบฐานข้อมูลเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังปี 2561/2562 อำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์. ค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2563. จาก http://farmer.doae.go.th.

กรมส่งเสริมการเกษตร. ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่. ค้นเมื่อ 24 เมษายน 2563.จาก https://www.doae.go.th.

จิรวุฒ มงคล. (2557). ความต้องการการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ของเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ธนกร กลิ่นนาค. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการบริหารโครงการนาแปลงใหญ่:กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่ จังหวัดชัยนาท. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช/นนทบุรี.

พงศ์ศิรภพ ทองดีรวิสุรเกตุ. (2562). ปัจจัยการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมระบบเกษตรนาแปลงใหญ่ของเกษตรกรในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี, 107-119.

สายชล พุ่มเกาะ. (2559) การดำเนินงานนาแปลงใหญ่ของเกษตรกรอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปิยะธิดา อ่อนพันธ์. (2557). ความต้องการการส่งเสริมการผลิตมันสาปะหลังของเกษตรกร ในอำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี. ปริญญาเกษตรศาสตร์มหาบัณฑิต แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชนิดา เกตุแก้วเกลี้ยง. (2557). ความต้องการการส่งเสริมการผลิตมันสาปะหลังของเกษตรกรในอำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย. ปริญญาเกษตรศาสตร์มหาบัณฑิต แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุรัตน์ ดิษฐ์เชาวลิต. (2556). การวิเคราะห์การจัดการการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรในอำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ. ปริญญาเกษตรศาสตร์มหาบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ภาษาอังกฤษ

Yamane, T. (1967). Elementary Sampling Theory. New Jersey: Prentice-Hall.

Translate References

Department of Agricultural Extension. Cassava farmer database system for 2018/2019, Don Chan District, Kalasin Province. Search on 20 October 2020. from http://farmer.doae.go.th. (in Thai)

Department of Agricultural Extension. Large-scale agricultural promotion system. Search on 24 April 2020. from https://www.doae.go.th. (in Thai)

Jirawut Mongkol. (2014). The need for large-scale agricultural promotion of farmers in Sakon Nakhon Province. Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)

Thanakorn Klinnak. (2016). Factors influencing participation in the management of a large rice field project: a group case study. Farmers, large plots Chainat Province Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)

Phongsirapop Thongdeerawisuraket. (2019). Factors for participating in the project to promote the large-scale farming system of farmers in Kanchanaburi Province. Kanchanaburi Rajabhat University Academic Journal, 107-119. (in Thai)

Saichon Phumko. (2016) Operation of large rice fields of farmers in Phimai District. Nakhon Ratchasima Province Sukhothai Thammathirat Open University/Nonthaburi. (in Thai)

Piyathida Onphan. (2014). Needs for promoting cassava production by farmers in Sa Bot District, Lopburi Province. Master of Agriculture degree. Field of study: Agricultural Extension Department of Agriculture and Cooperatives Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)

Chanida Ketkaewkliang. (2014). Needs for promoting cassava production by farmers in Erawan District. Loei Province. Master of Agriculture degree. Field of study: Agricultural Extension Field of study: Agriculture and Sukhothai Thammathirat Open University Cooperative. (in Thai)

Surat Ditchaowalit. (2013). Analysis of cassava production management of farmers in Thep Sathit District. Chaiyaphum Province. Master of Agriculture Degree Field of Study: Agricultural Management Department of Agriculture and Cooperatives Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-16