ความคาดหวังและความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพ ภายในอำเภอเมือง และอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

ผู้แต่ง

  • รวิกานต์ จิตจักร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ภิรดา ชัยรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ความคาดหวัง; ความพึงพอใจ; การให้บริการ; สาธารณสุขและสุขภาพ; การเข้าถึง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน 2) เพื่อศึกษาระดับความคาดหวังในบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน 3) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) เพื่อเปรียบเทียบความคาดหวังในบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชนจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและความพึงพอใจในบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่เข้ารับบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพภายในสถานพยาบาลทุกประเภท ในอำเภอเมือง และอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และมีความคาดหวังต่อบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีความพึงพอใจต่อบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพแตกต่างกัน และประชาชนที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อาชีพ ต่างกัน มีความคาดหวังต่อบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ในขณะที่ความคาดหวังของประชาชนมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงกับความพึงพอใจของประชาชนในบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

รวิกานต์ จิตจักร, หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ภิรดา ชัยรัตน์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

References

ภาษาไทย

กรุงเทพธุรกิจ. (2560). การศึกษา - สุขภาวะ เรื่องดีๆ ที่ต้องไปด้วยกัน. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/pr-news/biz2u/229969

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ประกาศกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เรื่อง รายละเอียดเกี่ยวกับมาตรฐานระบบบริการสุขภาพของสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน, กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.

ดวงดาว ภูครองจิตร และคณะ. (2559). คุณภาพบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น, ค้นคว้าอิสระ.

ธัญพร สินพัฒนพงค์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานการไฟฟ้านครหลวงจังหวัดกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2543). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี: สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

วัลภา ยิ้มปราโมทย์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกที่มีต่อโรงพยาบาลเอกชน กรณีศึกษาโรงพยาบาลในเครือพระราม 2. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.

สถาบันนวัตกรรมและธรรมาภิบาลข้อมูล. (2565). คำนวณกลุ่มตัวอย่างสูตร "ทาโร่ ยามาเน่" Taro Yamane. สืบค้นจาก https://digi.data.go.th/blog/method-of-controlling-the-sample/

องค์การบริการส่วนตำบลสิบเอ็ดศอก. (2565). คู่มือการปฏิบัติราชการ การให้บริหารด้วยหัวใจ "Service Mind".

ภาษาอังกฤษ

Aday, L. A., & Andersen, R. (1974). A framework for the study of access to medical care. Health services research, 9(3), 208.

Aday, L. A., & Andersen, R. M. (1981). Equity of access to medical care: a conceptual and empirical overview. Medical care, 19(12), 4-27.

enablesurvey. (2022a). เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และเก็บรวบรวมข้อมูล ที่นิยมใช้กัน มีอะไรบ้าง? Retrieved from https://www.enablesurvey.com/article-detail/d539c0cc-5f45-4fd9-80a7-4d3ab2c4c0b5/research-instrument

enablesurvey. (2022b). การสุ่มตัวอย่าง (sampling) คืออะไร? วิธีการสุ่มตัวอย่างงานวิจัย มีกี่แบบ ประเภท. Retrieved from https://www.enablesurvey.com/article-detail/5e098336-686a-4fbd-88b1-cc80636f5d80/sampling

Translated References

Bangkok Thurakit. (2017). Education - Health, good things that must go together. Retrieved from https://www.bangkokbiznews.com/pr-news/biz2u/229969 (in Thai)

Ministry of Public Health. (2020). Announcement of the Department of Health Service Support regarding details regarding system standards. (in Thai)

Health services of hospitals that accept patients overnight, Planning Division, Department of Health Service Support Ministry of Public Health. (in Thai)

Duangdao Phukrongjit et al. (2016). Service quality of subdistrict health promotion hospitals. Western University, independent research. (in Thai)

Thanyaporn Sinpattanaphong. (2017). Factors Affecting Job Satisfaction in Metropolitan Electricity Authority employees. Bangkok ProvinceThammasat University, Bangkok. (in Thai)

Preeyaporn Wongnutaroj. (2000). Academic administration. Bangkok : Printed: Office of Academic Resources and Technology Information, Northeastern University. (in Thai)

Wanlapa Yimpramote. (2016). Factors affecting outpatient satisfaction with private hospitals A case studies. Hospitals in the Rama 2 network. (Master of Business Administration thesis). Rajamangala University of Technology Krungthep. (in Thai)

Institute for Innovation and Data Governance. (2022). Calculate a sample of the formula "Taro Yamane" Taro Yamane. Retrieved from https://digi.data.go.th/blog/method-of-controlling-the-sample/ (in Thai)

Eleven Sok Subdistrict Service Organization. (2022). Government Operations Manual Giving management with the heart "Service Mind". (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-19