แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะด้าน ICT ของครูในการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบภาวะผู้นำด้าน ICT ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

Main Article Content

ระวิวรรณ บวกหาร
รศ.ดร.นัทธีรัตน์ พีระพันธุ์
รศ.ดร.วิไลลักษณ์ ลังกา

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการส่งเสริมสมรรถนะด้าน ICT ของครูในการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบภาวะผู้นำด้าน ICT ของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 10 คน ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะด้าน ICT ของครูในการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบภาวะผู้นำด้าน ICT ของผู้บริหารสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า แนวทางส่งเสริมสมรรถนะด้าน ICT ของครูในการจัดการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 6 ด้าน ตามกรอบภาวะผู้นำด้าน ICT ของผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ 1) ด้านวิสัยทัศน์ 2) ด้านการเรียนรู้และการสอน 3) ด้านผลผลิตและการปฏิบัติอย่างมืออาชีพ 4) ด้านการสนับสนุน การจัดการและการปฏิบัติการ 5) ด้านการวัดและประเมินผล 6) ด้านสังคม กฎหมายและจริยธรรม

Article Details

How to Cite
บวกหาร ร., พีระพันธุ์ น., & ลังกา ว. (2024). แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะด้าน ICT ของครูในการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบภาวะผู้นำด้าน ICT ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 16(2), 220–240. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/scj/article/view/272878
บท
บทความวิจัย

References

คมพิศิษฐ์ ศรีบุญเรือง, ไชยา ภาวะบุตร, ศิกานต์ เพียรธัญญกรณ์ และ พิธาน พื้นทอง. (2558). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(2), 101-108. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDMKKU/article/view/48131

จักรกฤษณ์ สิริริน. (2563, 10 พฤศจิกายน). ICT Leadership ภาวะผู้นำยุค 5G. SALIKA. https://www.salika.co/2020/11/10/ict-leadership-5g/

เฉลิม จักรชุม. (2559). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมตามแนวคิดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของครูด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการเรียนรู้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 11(2), 129-144. https://so04.tci- thaijo.org/index.php/yru_human/article/view/134245

นัทธีรัตน์ พีระพันธุ์ และ อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล. (2561). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็นด้านสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21 ของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 13(1), 97-116. http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/10406/8707

นัทธีรัตน์ พีระพันธุ์, อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล และ แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี. (2561). การกำหนดกรอบสมรรถนะและนำเสนอแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครูในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal,Silpakorn University (ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ), 11(2), 745-762. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/141356/145381

นิคม นาคอ้าย. (2550). องค์ประกอบคุณลักษณะผู้นำเชิงอิเล็กทรอนิกส์และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลภาวะผู้นำเชิงอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 18(2), 99-114. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edubuu/article/view/18682

นิศาชล บำรุงภักดี. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลโรงเรียน ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]. Graduate School Sakon Nakhon Rajabhat university. https://gsmis.snru.ac.th/e-thesis/file_att1/2020080861421229120_fulltext.pdf

บุษบา เสนีย์, เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต, และ ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ. (2562). รูปแบบการบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 20(2), 27-40. http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/12162

ปาริชาติ เภสัชชา. (2558). การพัฒนาสมรรถนะครูผู้นำด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 12(59), 95-104. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/SNGSJ/article/view/59182

ไปรมา ธรรมกิจวัฒน์, สงวน อินทร์รักษ์, นภดล เจนอักษร, และ มัทนา วังถนอมศักดิ์. (2560). การส่งเสริมทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 14(27), 30-41. http://ejournals.swu.ac.th/index.php/EAJ/article/view/9802/8342

พัชรนันท์ ลอยเมืองกลาง, และ วันทนา อมตาริยกุล. (2564). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดหนองคาย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(3), 337-350. https://so03. tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/251171

พีระวัตร จันทกูล, และ ฉลอง ชาตรูประชีวิน. (2560). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(3), 225-237. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/100952ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1485/1/57260314.pdf

ภานุวัฒน์ สิงห์หาญ, และ วัลลภา อารีรัตน์. (2558). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและการบริการด้านการศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 38(2), 158-166. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDKKUJ/article/view/47937

วศิน ชูชาติ. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนแห่งศตวรรษที่ 21 จังหวัดสุพรรณบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม]. Silpakorn University Community home page. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1485/1/57260314.pdf

ศิวพร ศรีมังคละ, จำนง วงษ์ชาชม และ ละมัย ร่มเย็น. (2561). สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพื้นฐานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 15(70), 189-197. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/SNGSJ/article/view/114508

ศิษฏ์ชนา ดวงบาล, พระครูวิทิตศาสนาทร, และ ฉัตรชัย ศิริกุลพันธ์. (2562). แนวทางการพัฒนาครูด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนโรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 10(1), 242-253. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBS/article/view/169720/138932

ศรีเพ็ญ พลเดช. (2561). สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Processings) การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 พ.ศ.2561. https://dspace.bru.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/3976/%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%

B8%9E%E0%B9%87%E0%B8%8D%20%20%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A1.pdf?sequence=1&isAllowed=y

สท้าน วารี. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 11(1), 120-129. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/176490

สุชญา โกมลวานิช, สิทธิชัย สอนสุภี, บุญฤทธิ์ เพ็ชรวิศิษฐ์, และ เกื้อจิตต์ ฉิมทิม. (2562). องค์ประกอบของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23. ใน ศ.สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (บ.ก.), การนำเสนอผลงานแบบบรรยาย ระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับปริญญาโท. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21. (น. 636-643). https://app.gs.kku.ac.th/gs/th/publicationfile/item/21th-ngrc-2020/HMO16/HMO16.pdf

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. http://www.onec.go.th/index.php/book/BookView/1540

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2563 (IMD 2020). http://www.onec.go.th/th.php/book/BookView/1836

อมรรัตน์ จินดา และ เอกนฤน บางท่าไม้. (2559). สภาพปัญหาและแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University (ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), 9(1), 395-407. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/54159

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา. http://www.onec.go.th/th.php/book/BookView/1699

อินทิรา ชูศรีทอง, ไชยา ภาวะบุตร, และ วัฒนา สุวรรณไตรย์. (2563). รูปแบบการพัฒนาครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานศึกษาธิการ ภาค 11. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 10(2), 110-124. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/neuarj/article/view/242756

อุบลรัตน์ หริณวรรณ, กานดา พูนลาภทวี, ธีรพงษ์ วิริยานนท์, และ กรรณ จรรยาวุฒิวรรณ์. (2557). สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของครู. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 15(2), 147-156. http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/6675/6297

อุบลรัตน์ หริณวรรณ, ธีรพงษ์ วิริยานนท์, และ กรรณ จรรยาวุฒิวรรณ์. (2563). การเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 11(2), 71-85. http://journal.fte.kmutnb.ac.th/download/v11n2/journalFTE-Fulltext-2020-11-2-8.pdf

Afzaal H. Seyal. (2012). A preliminary study of school administrators' use of information and communication technologies: Bruneian

perspective. International Journal of Education & Development using Information & Communication Technology, 8(1), 29-45. https://files.eric.ed.gov/fulltext/EJ1084147.pdf

David Ng Foo Seong, และ Jeanne Marie Ho. (2012). How leadership for an ICT reform is distributed within a school. International Journal of Educational Management, 26(6), 529-549. https://www.researchgate.net/publication/235290585