ความพร้อมของสถาบันอุดมศึกษาในการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตเป็นบุคลากรวิชาชีพต่างๆ ทำให้มหาวิทยาลัยที่กระจายอยู่ทั่วประเทศมีองค์ความรู้และทรัพยากร ที่สามารถส่งเสริมเศรษฐกิจและสุขภาวะชุมชน บทความทั้ง 6 เรื่อง ในเล่มนี้ แสดงถึง บทบาทของชุมชนที่เปลี่ยนแปลงจากฝ่ายรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ เป็นภาคีที่ร่วมคิดร่วมทำตลอดกระบวนการ ทำให้งานวิชาการสามารถเข้าถึง เชื่อมโยงศักยภาพชุมชนและทุนทางสังคมได้อย่างแท้จริง เกิดนวัตกรรมที่อิงบริบทของพื้นที่ และ สร้างโอกาสการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

Published: 2018-04-03

ผลิตภัณฑ์หมอนขิดยางพาราบ้านศรีฐาน จังหวัดยโสธร

ชัยวุฒิ วัดจัง, ศันศนีย์ ศรีจันทร์, เสาวลักษณ์ บุญยอด, สราวุธ ประเสริฐศรี

1-18

ร่วมด้วยช่วยกัน สร้างความเชื่อมโยง “ โซ่แห่งคุณค่า จากต้นน้ำสู่ปลายน้ำ ” กรณีศึกษา : กลุ่มเพื่อนแพะ (ผู้เลี้ยงแพะ) จังหวัดภูเก็ต

กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ, อนันต์ สันติอมรทัต, จารุวรรณ พรหมเงิน, แสงระวี ณ พัทลุง, อนิตทยา กังแฮ, ชาญณรงค์ ตันติชำนาญกุล, วารุณี ธารารัตนากุล, เกษม เชื้อสมัน, วราลักษณ์ ไชยทัพ, นุจิรัตน์ ปิวคำ

19-32

การจัดการที่พักแรมในแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ชุมชนสามเรือน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

พิมพ์พร พิมพ์สุวรรณ, ชาสินี สำราญอินทร์, ธาริดา สกุลรัตน์, ราชันย์ ปรึกษา, เบญจพร เชื้อผึ้ง

33-43

“ไชยาโมเดล” โมเดลเครือข่ายระบบเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน : กรณีผลการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่วิจัยเชิงพื้นที่

จรวย สุวรรณบำรุง, สุภาพร ทองจันทร์, ชุมพร ผลประเสริญ, ประยุทธ สีตุกา, อนุสรณ์ ศรีวาริน, บงกช เทพขุน, พจนา เหมาะประมาณ

70-87