วารสารศิลป์ปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 ปี พ.ศ. 2566 ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาฉบับนี้ ประกอบด้วยบทความ จำนวน 17 เรื่อง ได้แก่ การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ชุด “นาฏยสัตตบุษย์”, ศึกษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมมอญ เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย, นวัตกรรมสร้างสรรค์สิ่งทอเส้นใยเฮมป์ (Hemp) ด้วยแนวคิด BCG, กระบวนท่ารำซัดเลือกคู่ในละครเรื่องมโนห์รา ตอนพระสุธนเลือกคู่ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, จาก BANGKOK NOTES สู่ TOKYO NOTES:การดัดแปลงบทละครของ ORIZA HIRATA สู่บริบทไทยร่วมสมัย, นวัตกรรมการพัฒนาเส้นใยบัวหลวงผ่านกระบวนการพลาสมา, อัตลักษณ์ภูมิปัญญาในผ้าทอไทพวนสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์, การศึกษาหาความต้องการในการพัฒนาทางด้านร่างกายของกลุ่มเด็กพิเศษ ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อการพัฒนา ผลงานประติมากรรมสำหรับบำบัดเด็กพิเศษ, HOTEL PERSONNEL UNIFORM IDENTITY AFFECTED BY THE COVID-19 (A CASE STUDY OF LET'S SEA HUA HIN AL FRESCO HOTEL.), A STUDY ON THE HARACTERISTICS OF FOLK TAOISM MUSIC IN HUNAN PROVINCE OF CHINA-TAKING THE RITUAL MUSIC OF ZHENGYI TAOISM IN NANYUE AS AN EXAMPLE, “COVERED SINGING” AND VOCAL MUSIC TEACHING FOR MALE ADOELSECENT,THE ART OF RUICHANG PAPERCUT: TECHNIQUES, THEMES, AND COMPOSITIONAL FORMS, CHINA’S LUSHAN CITY IMAGE DESIGN TO PROMOTE TOURISM, ENHANCING ELDERLY LIVING SPACES THROUGH INTERIOR DESIGN: A CASE STUDY IN JIUJIANG CITY, CHINA, LANTERN IN NANJING, CHINA: CULTURAL DIMENSION AND INHERITANCE, THE CULTURAL DIMENSION OF LUSHAN POETS: SEEKING SOUVENIR PRODUCTS IN LUSHAN CHINA, ANALYSIS OF THE COMPOSITION OF TRADITIONAL VILLAGE IMAGE FROM THE PERSPECTIVE OF CULTURAL LANDSCAPE - A CASE STUDY OF VILLAGES IN HUANG HE VALLEY IN WESTERN HENAN REGION, CHINA

          สำหรับวารสารในปีที่ 12 ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2567  กำลังเปิดรับผลงานเพื่อตีพิมพ์ จึงขอเชิญผู้สนใจ นักวิจัย อาจารย์ และนักศึกษา ส่งผลงานในลักษณะของบทความวิชาการหรือบทความวิจัยมาตีพิมพ์ในวารสารนี้ โดยบทความจะได้รับการประเมินคุณภาพจากกองบรรณาธิการ และพิจารณากลั่นกรอง (Peer review) โดยผู้ทรงคุณวุฒิตามสาขาที่เกี่ยวข้อง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารนี้จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป

            ในนามของกองบรรณาธิการ ขอกราบขอบพระคุณท่านอธิการบดี ท่านรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา ท่านผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิ ท่านผู้นำเสนอบทความ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ให้การสนับสนุนวารสารศิลป์ปริทัศน์ฉบับนี้ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

เผยแพร่แล้ว: 2023-12-25

CHINA’S LUSHAN CITY IMAGE DESIGN TO PROMOTE TOURISM

Xiaohong Deng, Chanoknart Mayusoh, Pisit Puntien

138 - 151

นวัตกรรมสร้างสรรค์สิ่งทอเส้นใยเฮมป์ (Hemp) ด้วยแนวคิด BCG

สุวิธธ์ สาดสังข์, พัดชา อุทิศวรรณกุล

33-44

อัตลักษณ์ภูมิปัญญาในผ้าทอไทพวนสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์

Chukiat Ananwettayanon, กิตติสันต์ ศรีรักษา, ธีระยุทธ์ เพ็งชัย

81 - 93

ศึกษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมมอญ เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย

sansern sangkhadithi, จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง , สุธาสินีน์ บุรีคำพันธุ์

18-32

HOTEL PERSONNEL UNIFORM IDENTITY AFFECTED BY THE COVID-19 (A CASE STUDY OF LET'S SEA HUA HIN AL FRESCO HOTEL.)

Supawadee Juysukha, Chanoknart Mayusoh, Suwit Sadsunk, Tuenta Pornmuttawarong, Siratcha Samleethong, Taechit Cheuypoung

106 - 114

LANTERN IN NANJING, CHINA: CULTURAL DIMENSION AND INHERITANCE

Qian Zhao, Chanoknart Mayusoh, Pisit Puntien

163 - 172

THE CULTURAL DIMENSION OF LUSHAN POETS: SEEKING SOUVENIR PRODUCTS IN LUSHAN CHINA

Wei Wu, พิสิษฐ์ พันธ์เทียน, Chanoknart Mayusoh

173 - 179