กรณีศึกษา: การให้การปรึกษาออนไลน์ด้วยแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาที่มีภาวะหมดไฟในการทำงาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์ตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม ต่อการลดภาวะหมดไฟในการทำงานสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะหมดไฟในการทำงานของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษารายกรณีก่อนหลังเข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์ตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้คือ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย คือ 1) การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์ตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม 2) แบบวัดภาวะหมดไฟในการทำงาน และ 3) แบบบันทึกการให้การปรึกษา ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาหลังเข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์ตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมมีภาวะหมดไฟในการทำงานที่ลดลง ดังนั้น การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์ตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม สามารถลดภาวะหมดไฟในการทำงานสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1.บทความที่ตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่อง เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในวารสารฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
ภาษาไทย
กิตติ แสงเทียนฉาย. (2531). การศึกษาความท้อถอยในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตการศึกษา 7.
(วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร.
กรมควบคุมโรค. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). สืบค้นจาก:
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php
จันทร์ ใจป้อ. (2545). ความเครียดของครูยุคปฏิรูปการศึกษา : กรณีครูสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม่.
(วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, กรุงเทพมหานคร.
เชษฐาช ทองยิ่ง. (2559). ปัญหาครู : ปัญหาที่รอการปฏิรูป . สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
โณทัย อุดมบุญญานุภาพ. (2552). คุณลักษณะครูร่นใหม่กับการปฏิรูปหลักสูตรผลิตครูในศตวรรษ 21. สืบค้นจาก
http://images.busaramanee.multiply. multiplycontent.com
ดวงมณี จงรักษ์. (2549). ทฤษฎีการให้คําปรึกษาและจิตบําบัดเบื้องต้น. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ
ธีรศักดิ์ อัครบวร. (2542). ความเป็นครู. โรงพิมพ์ ก. พลพิมพ์, กรุงเทพฯ
นันทยุทธ หะริตะเวช. (2546). สภาพแวดล้อมในการทํางาน และความเหนื่อยหน่ายในการทํางานของพยาบาล ในสถาบัน
สุขภาพจิต และโรงพยาบาลจิตเวชสําหรับเด็กกรมสุขภาพจิต. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต),
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
นันทาวดี วรวสุวัส, มนัสพงษ์ มาลา และ กุลิสรา พิศาลเอก. (2560). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางใจ ป้องกัน
ภาวะหมดไฟ ดูแลใจคนทำงานสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7 (EPI-BP Model).
ศูนย์สุขภาพจิตฯ ที่ 7.
นันทิกา อนันต์ชัยพัทธนา. (2549). ผลของโปรแกรมพฤติกรรมบําบัดแบบพิจารณาเหตุผลและอารมณ์ต่อคุณค่าในตนเองของ
เยาวชนในสถานสงเคราะห์บ้านเด็กชาย เชียงใหม่, (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,
เชียงใหม่.
บีบีซีนิวส์. (2563). ไวรัสโคโรนา : เว้นระยะทางสังคมอย่างไร ให้ห่างไกลจากโรคโควิด-19. สืบค้นจาก
https://www.bbc.com/thai/features-52095183
บัวทอง สว่างโสภากุล. (2545). การให้คําปรึกษาเทคนิคและทฤษฎี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
พงษ์พัน พงษ์โสภา. (2544). ทฤษฎีและเทคนิคการในคําปรึกษา. ธนธัชการพิมพ์, กรุงเทพฯ.
พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์. (2525). ความเหนื่อยหน่าย. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์.
ไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบ. (2533). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเหนื่อยหน่ายของครูประถมศึกษาในภาคกลาง.
(วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร.
รัตนา คงกุลรัตน์. (2536). ความสัมพันธ์ระหว่างความเหนื่อยหน่ายกับสุขภาพจิตของครูประถมศึกษาที่ปฏิบัติหน้าที่โรงเรียนที่
กันดาร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต),
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
เรณู ตรีโลเกศ. (2549). การศึกษาปญหาและปัจจัยที่สนับสนุนความสําเร็จในการจัดทําผลงานทาง
วิชาการ เพื่อขอกําหนดตําแหน่งและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่สูงขึ้นของข้าราชการครู สังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย, เลย.
วิไล พัวรักษา. (2541). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับความเหนื่อยหน่ายของ
พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต),
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
วีณา มิ่งเมือง. (2547). ผลการศึกษาโปรแกรมกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และ พฤติกรรมร่วมกับการฝึกอานา
ปานสติต่อความโกรธของวัยรุ่น. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพฯ
สงวน ลือเกียรติบัณฑิต. (2542). อาการเหนื่อยหน่ายในการทํางาน : ประวัติ การพัฒนามโนทัศน์ ความหมายและการวัด.
วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และ มนุษย์ศาสตร์. 5 (2): 168-176.
สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน. (2557). คืนครูสู่ห้องเรียน. สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/moe/th /news/detail.
php?NewsID=39891&Key=news_research
สิระยา สัมมาวาจ. (2532). ความเหนื่อยหน่ายของพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลรามาธิบดี.
(วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร.
สุธีรา พลรักษ์. (2546). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุความเหนื่อยหน่ายในการทําวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
สุววฒุิ วงศท์างสวสัดิ์. (2553). การบริการด้านสุขภาพจิตทางอินเตอร์เน็ต : ลักษณะปัญหาของผู้มารับบริการและ
ประสบการณ์ของผู้ให้การผ่านทางโปรแกรมเอ็มเอสเอ็น. (วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กรุงเทพมหานคร.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2540). รวมบทความทางการประเมินโครงการ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555). นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกองค์กร
ระดับนานาชาติ. กรุงเทพฯ : กลุ่มพัฒนาวิชาการระหวางประเทศศูนย์พัฒนาการศึกษาระหว่างประเทศ
อาภา จันทรสกุล. (2535). ทฤษฎีและวิธีการให้คําปรึกษา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ภาษาอังกฤษ
Cherniss, C. (1980). Professional burnout in the human service organizations. Praeger, New York.
Chi, J. Lang-Yueh. (1996). The Relationship of Leadership Style and OrganizationClimate to Job Burnout
Level Among Twai Public Secondary School Teachers[CD-ROM]. Abstract from: Dissertation
Abstracts Item: 9613219.
Collins. (1999). V. A. A meta-analysis to burnout and occupational stress. Doctorate dissertation,
University of North Texas.
Corey, G. (2013). Theory and practice of counseling and psychotherapy. (9th ed.). Pacific Grove, Calif:
Brooks/Cole.
Domain name. (2008). Available soure http://domain-name.gict.co.th/, March 16, 2020.
Dryden, W. (1996). Inquiries in Rational Emotive Behaviour Therapy. Sage, London.
Edelwich, J.and Brodsky, A. (1980). Burnout : Stages of disillusionment in the helping
professions. Human Sciences Press, New York.
Ellis, A. (1994). Reason and emotion in psychotherapy. Carol Publishing Group, New York.
Faber, B. A. (1991). Crisis in Education Stress and Burnout in American Teacher. Jossey Bass
Publisher, California.
Farmer, R.E., Monahan, L.H., and Hekeler, R.W. (1984). Stress Management in Human Services
(Vol. 37). SAGE Publications, Incorporated.
Freudenberger, H. J. and Richelson, G. (1980). Burnout: The high cost of high achievement.
NY: Doubleday, Garden City.
Freudenberger, H. J. and North, G. (1985). Women’s burnout. How to spot it, how to reserve it,
how to prevent it. Double Day, New York.
Friedman, A. (1993). Burnout in Teacher: The Concept and Unique Core Meanings.
Journal of Education & Psychological Measurement 53 (1993): 1035-1045.
Gerald Corey. (2009). Theory and Practice of Counseling and Psychotherapy. CA: Brooks/Cole.
Larson. (1997). L. L. Internal Auditor Job Stress and Turnover Intentions (Burnout).Master'thesis, Cleveland
State University.
Manhal-Baugus, M. (2001). E-therapy: Practical, ethical and legal issues. Cyber Psychology & Behaviors.
Marslach, C. (1976). Burnout. Human Behavior. 5: 16-22.
Maslach, C. and Jackson, S.E. (1986). Maslach Burnout Inventory: Second Edition. Palo Alto.
Consulting Psychologists Press, CA.
Maslach, C. and Leiter, M. P. (1997). The Truth about Burnout: How Organization Cause
Personal Stress and What to Do about It. John Wiley & Sons, San Francisco, CA.
Maslach, C. and Leiter, M.P. (1997). The truth about burnout. Jossey Boss, San Francisco.
McShane, S. L. and Von Glinow, M. A. (2003). Employment relationship and career dynamics.
Organizational behavior: Emerging realities for the workplace revolution, 552-555.
Morin A. (2011). Online Therapy –The Pros and Cons of Internet Psychotherapy .Available
Source http://www.suite101.com/content/online-therapy---the-pros-and-cons-a350798,
March 16, 2020.
Muldary, T. W. (1983). Burnout among health professionals: Manifesting and management. Appleton-
Century Crofts, Norwalk.
Pines, A. and Aronson, E. (1988). Career burnout: Causes and cures. Free Press, New York.
Rochlen, A. B.. Zack, J.S., and Speyer. W. (2004). Online therapy: Review of relevant
definitions, debates, and current empirical support. Journal of Clinical Psychology, 60.269-283.
Schaufeli, W. B. , and Buunk, B. P. (1996). Professional burnout. Handbook of Work and Health Psychology.
- 346.
Schaufeli, W. B. and Enzmann, D. (1998). The burnout companion to study and Practice. A critical analysis,
London.
Scott. (2008). History of Online Counseling. Available Source
http://www.scottcounseling.com/wordpress/history-of-online-counseling, March 29, 2020.
Shirom, A. (1989). Burnout in work organizations. In Cooper, C.L. and Robertson, I. (Eds),
International review of industrial and organizational psychology (pp.25-48).
Wiley, New York.
Smith, A., Health, G. B., Executive, S., Brice, C.,Great Britain, H., Staff, S. E., & Collins, A. (2000).
The Scale of Occupational Stress: A Further Analysis of the Impact of Demographic Factors and Type of Job. HSE Books 13 pdf.
Smith, M., Jaffe–Gill, E., Segal, J. and Segal, R. (2013). Preventing burnout: Signs, symptoms,
causes, and coping strategies. Available Source http://helpguide.org
/mental/burnout_signs_symptoms.htm, March 16, 2020.
Unesco. (1996). Report to UNESCO of the International Commission on Education for the
Twenty-First Century: http://www.unesco.org/education/pdf/15_62.pdf, March 25, 2020.
Vongtangswad, S., Tuicomepee, A. & Sirikantraporn, S. (2017). Client Perspectives on Single Session
Chat-Based Individual Online Counseling among Undergraduates. Journal of Health Research,
(4), 271-279.
Zack, J. S. (2004). Technology of online Counseling. San Diego, CA: Academic Press
Zelvin, E., and Speyer, C.M. (2004). Online counseling skills part: Treatment strategies
and skills for conducting counseling online. In R. Kraus. J. Zack & G. Stricker (Eds.). Online counseling: A handbook for mental health professionals (pp. 163180). San Diego, CA: Academic Press.