ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตั้งใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชันซีจากการรับชมโฆษณาแฝง ผ่านวิดีโอบนยูทูป : กรณีศึกษาช่องโคตรคูล ในจังหวัดชลบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการเปิดรับสื่อ ปัจจัยการรับรู้ตราสินค้า ปัจจัยทัศนคติต่อโฆษณาแฝง และปัจจัยความน่าเชื่อถือของโฆษณาแฝง จากโฆษณาของยูทูปที่ส่งผลต่อการตั้งใจซื้อของผู้บริโภคเจเนอเรชันซี ในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้บริโภคเจเนอเรชันซี อายุ 18-25 ปี เพศชายและหญิงที่อาศัยอยู่ในจังหวัดชลบุรี และเคยรับชมยูทูป ช่องโคตรคูล ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์เชิงอนุมานได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยการเปิดรับสื่อ ปัจจัยการรับรู้ตราสินค้า ปัจจัยทัศนคติต่อโฆษณาแฝง และปัจจัยความน่าเชื่อถือของโฆษณาแฝง ส่งผลเชิงบวกต่อการตั้งใจซื้อของผู้บริโภคเจเนอเรชันซี ในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1.บทความที่ตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่อง เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในวารสารฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
ภาษาไทย
กมลเลิศ อุดมกิจไพศาล, & สมบัติ ธำรงสินถาวร. (2566). ความน่าเชื่อถือของโฆษณาประเภทอินโฟเมออร์เชียลและความไว้ใจในสื่อที่ส่งผลต่อการตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพของผู้บริโภควัยทำงานในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(1), 70-83.
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2565). ผลสํารวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยปี 2565 Thailand Internet User Behavior 2022. จาก https://www.etda.or.th/th/Our-Service/statistics-and- information.aspx.
โคตรคูล. (2567) . Channel details. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/@khotkool
เดลินิวส์ ออนไลนส์, (2565). ยูทูบ 8 ปีในไทยยังเป็นแพลตฟอร์มวิดีโออันดับ 1 คนนิยมรับชมบนทีวีกว่า 12 ล้านราย.
ธี ระ โรจ นา รัตน์, & ชาญ ณรงค์. (2564). อิทธิพล ของ การ เปิด รับ สื่อ และ การ ยอมรับ นวัตกรรม นาฬิกา เพื่อ สุขภาพ ที่ มี ต่อ ความ ตั้งใจ ซื้อ ของ ผู้ บริโภค ที่ จะ ก้าว สู่ วัย ผู้ สูงอายุ.
เพ็ญสิริ เอกพัฒนกุล. (2565). อิทธิพลจากโฆษณาของยูทูบเบอร์ต่อทัศนคติและพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการของผู้ชม. จากhttps://www.hu.ac.th/Conference/conference2022/proceedings/doc/Proceeding%20HU%20Conference13.pdf
โพธิ์ สุ วร ร ณ์, & น ส วรรณ ร์. (2564). การ เปิด รับ ภาพลักษณ์ ตรา สินค้า และ ความ ตั้งใจ ซื้อ ผลิตภัณฑ์ ใน ภาพยนตร์ โฆษณา ที่ นํา เสนอ ประเด็น กลุ่ม เปราะ บาง ของ ผู้ บริโภค.
รัก หลวง, & วรรษา. (2564). การ เปิด รับ สื่อ ความ พึง พอใจ การ รับ รู้ความ เสี่ยง และ ความ ตั้งใจ ซื้อ เครื่อง ดื่ม กาแฟ แบบ สมัคร สมาชิก จัด ส่ง ถึง บ้าน.
ลงทุนแมน. (2566). WORKPOINT ลงทุนในโคตรคูล ของโอ๊ต ปราโมทย์ 216 ล้านบาท. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/longtunman/posts/875755353921471/?paipv=0&eav=AfYI0c0u-gWCTHCjuQUvGjeP6xdL_A24V6nRuy0GSv8tS9Do9ACqHCTZGREHlQHolhA&_rdr
ลดาอำไพ กิ้มแก้ว. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคจากสื่อโฆษณาประเภทวิดีโอผ่านผู้มีอิทธิพลบนสังคมออนไลน์.การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วรวรรณ องค์ครุฑรักษา. (2566). การ เปรียบเทียบ ทัศนคติ ต่อ ยู ทู บ เบอร์ เสมือน จริง และ พฤติกรรม ตอบ สนอง ต่อ โฆษณา แฝง ของ ผู้ บริโภค ชาว ไทย และ ชาว ญี่ปุ่น. Journal of Public Relations and Advertising, 16(2), 72-90.
วรวรรณ องค์ครุฑรักษา. (2564). อิทธิพล ของ การ สื่อสาร การ ตลาด ใน ยู ทู บ ที่ มี ต่อ พฤติกรรม ผู้ บริโภค เจ เน เร ชั่ น Z และ Y. Journal of Public Relations and Advertising, 14(1), 1-12.
วั ล นิ กา ฉลาก บาง. (2560). การ วิจัย แบบ ผสมผสาน. Journal of Humanities and Social Sciences Nakhon Phanom University, 7(2), 124-132.
สิริลักษณ์ แสงทอง. (2563). ประโยชน์จากการโฆษณา. จาก https://www.one31.net/activity/detail/70
สืบแสง แสงทอง. (2563). การเปิดรับข่าวสารและการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของเจเนอเรชันวาย ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สุพิชชา ทองบำเพ็ญ, & ศรัณย์ธร ศศิธนากรแก้ว. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อโฆษณาบนอินสตาแกรมสตอรี่กับความตั้งใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. Manutsayasat Wichakan, 27(1), 188-209.
Chaichamnan, A., Sasithanakornkaew, S., & Apisuphachok, W. (2565). อิทธิพลการเปิดรับสื่อออนไลน์และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้ออสังหาริมทรัพย์บ้านเดี่ยวของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย. Journal of MCU Nakhondhat, 9(5), 313-330.
InsightERA. (2565). Thailand’s Top Social by Generation Usage. สืบค้นจากhttps://www.insightera.co.th/thailand-top-social-2022/
Marketing-oops. (2545). เปิดสถิติพฤติกรรมทาง social media หาก Brand อยากดูคูลให้เข้ากับ Gen Z ไทย. จาก https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/genz-social-media-stats/
Thailand Digital Outlook. (2566). 10 อันดับกิจกรรม และพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย 2566. จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2722450
ภาษาอังกฤษ
Aaker, D. A. (1991). Managing Brand Equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York Free Press.
Aaker, D. A. (1996). Building Strong Brands. New York: Free Press.Broadbent, S., Bridson, K., Ferkins, L., & Rentschler, R. (2010). Brand love, brand image and loyalty in Australian elite sport. Australian and New Zealand Marketing Academy, 9(1).
Cotte, J., Coulter, R. A., & Moore, M. (2005). Enhancing or disrupting guilt: The role of ad credibility and perceived manipulative intent. Journal of Business Research,58(3), 361-368.
ERIC. (1997).The Impact of Teaching Strategies on Intrinsic Motivation.
Farjam, S., & Hongyi, X. (2015). Reviewing the concept of brand equity and evaluating consumer-based brand equity (CBBE) models. International Journal of Management Science and Business Administration, 1(8), 14-29.
Fishbein, M. E. (1967). Readings in attitude theory and measurement.
Gillespie, B., & Joireman, J. (2016). The role of consumer narrative enjoyment and persuasion awareness in product placement advertising. American Behavioral Scientist, 60(12), 1510-1528.
hovering, dragging, and flipping. Human-Computer Interaction, 29(2), 109–152.
interaction techniques: An experimental investigation of clicking, sliding, zooming,
Ivan Ka Wai Lai and Yide Liu. (2020). The Effects of Content Likeability, Content Credibility, and
Keller, K. L. (2008). Strategic Brand Management: Building, Measuring, and Managing Brand Equity, (3 rd ed.). NJ: Prentice-Hall.
Klapper, J. T. (1960). The effects of mass communication.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). A Framework for Marketing Management (4th ed.). New Jursey: Prentice-Hall.
Mc Manus, P., Mulhall, S., Ragab, M., & Arisha, A. (2017, June). An investigation in the methodological approaches used in doctoral business research in Ireland. In ECRM 2017 16th European Conference on Research Methods in Business and Management (p. 233). Academic Conferences and publishing limited..
Mcleod and O’ keefee. (1972). The socialization perspective and communication behavior. In Current perspective in mass communication research. London: Sage Publications.
McLuhan, M. (1994). Understanding media: The extensions of man. MIT press.
Mehta, A. (2000). Advertising attitudes and advertising effectiveness. Journal of advertising research, 40(3), 67-72.
Mosa, R. A. (2021). The Impact of Advertising Credibility on Purchase Intentions: An Empirical Study among Iraqi Facebook Users. European Journal of Business and Management Research, 6(5), 228-234.
Ongkrutraksa, W. (2022). Exploring Young Consumers’ Exposure, Attitude, and Behavioral Response to YouTube Video Game Streaming’s Product Placement. International Journal of Electronic Commerce Studies, 13(3), 45-68.
Pikas, B. & Sorrentino, G. (2014). The Effectiveness of Online Advertising: Consumer’s Perceptions of Ads on Facebook, Twitter and YouTube. Journal of Applied Business and Economics. 16(4).
Salleh, M. S. M., Mahbob, N. N., & Baharudin, N. S. (2017). Overview of General Z Behavioral Characteristic and Its Effect towards Hostel Faculty. International Journal of Real Estate Studies, 11(2), 59-67.
Salleh, M. S. M., Mahbob, N. N., & Baharudin, N. S. (2017). Overview of “generation Z” behavioural characteristic and its effect towards hostel facility. International Journal of Real Estate Studies, 11(2), 59-67.
Saunders, M., Lewis, P. H. I. L. I. P., & Thornhill, A. D. R. I. A. N. (2007). Research methods. Business Students 4th edition Pearson Education Limited, England, 6(3), 1-268.
Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2007). Reference Groups and Family Influences in Consumer Behaviour. Prentice Hall: London.
Schramm, W. (1971). Notes on Case Studies of Instructional Media Projects.Social Media Engagement on Users’ Acceptance of Product Placement in Mobile Social Networks
semrush. (2024). Most Visited Websites in Thailand, January 2024. จาก https://www.semrush.com/website/top/thailand/all/
Sriprom, C., Rungswang, A., Sukwitthayakul, C., & Chansri, N. (2019). Personality Traits of Thai Gen Z Undergraduates: Challenges in the EFL Classroom?. PASAA: Journal of Language Teaching and Learning in Thailand, 57, 165-190.
Strauss, W., & Howe, N. (1991). Generations: The history of America’s future, 1584 to 2069. New York: William Morrow and Company.
Sundar, S. S., Bellur, S., Oh, J., Xu, Q., & Jia, H. (2014). User experience of on-screen
Tritama, H. B. & Tarigan, R. E. (2016). The Effect of Social Media to the Brand Awareness of a Product of a Company. International Journal of Communication & Information Technology, 10(1), 9–14.
Turner, A. (2015). Generation Z: Technology and Social Interest. Journal of Individual Psychology, 71(2), 103-113.
Yadav, G. P., & Rai, J. (2017). The Generation Z and their Social Media Usage: A Review and a Research Outline. Global Journal of Enterprise Information System, 9(2).110-116.