ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้เทคโนโลยี V-Commerce ในการซื้อสินค้า ของผู้บริโภค Generation Z จังหวัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

รสิตา อภินันทเวช
พิมพ์วิภา ลุ้งบ้าน
วิมลสิริ สิงห์ทอง
อภิรญา เหลืองเจริญพัฒนะ
นิภา นิรุตติกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยี 2) ความไว้วางใจ และ 3) ความเพลิดเพลินที่มีผลต่อความตั้งใจใช้เทคโนโลยี V-Commerce ในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค Generation Z (เกิดในช่วง พ.ศ. 2539-2546) จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ และกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่ม Generation Z อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์เชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression) และการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยี ทั้งด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน และด้านกานรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยด้านความไว้วางใจ รวมถึงปัจจัยด้านความเพลิดเพลิน ส่งผลต่อความตั้งใจใช้เทคโนโลยี V-Commerce ในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค Generation Z จังหวัดกรุงเทพมหานคร

Article Details

บท
Research Articles

References

ณัฏฐนันท์ พิธิวัตโชติกุล. (2558). การยอมรับเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ การตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร (รายงานวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ณัฐกิตติ์ จังพานิช. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจเล่นเกมกาชาของวัยรุ่นและวัยทำงาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศิลปากร). สืบค้นจาก http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/2050/1/ 60602317.pdf

ธนัญญา ยินเจริญ, สุธีรา เดชนครินทร์ และอัคญาณ อารยะญาณ. (2561). การรับรู้ของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอร์เรชั่นวายกับความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านโซเชียลคอมเมิร์ซ. วารสารบริหารธรุกิจเทคโนโลยีมหานคร, 15(1), 224-239.

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (ม.ป.ป.ก). Voice search เทรนด์ที่ต้องจับตาในแวดวง E-commerce. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2563 จาก https://www.krungsri.com/th/plearn-plearn/voice-search-trending

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (ม.ป.ป.ข). 6 สิ่งต้องรู้เมื่อบุกตลาด Gen Z. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2563 จาก https://www.krungsri.com/th/plearn-plearn/6-techneques-to-approach-gen-z

ธนาคารกรุงเทพ. (2562). ทะยานสู่หนทางใช้จ่ายแนวใหม่ vCommerce. สืบค้นจาก https://www.bangkok bankinnohub .com/th/vcommerce/

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน). (2562). ไม่ต้อง‘คลิก’แค่พูดก็ช้อปปิ้งออนไลน์ได้. สืบค้นจาก http://www.mbs.mut. ac.th/journal/files/2561_1/วารสารบริหารวิจัย_61_15-1_11_ธนัญญา_p_220-239.pdf

ธันยา ศิริลาภพานิช. (2558). ความพึงพอใจ ความเพลิดเพลิน สิ่งเร้าทางสภาวะแวดล้อม และการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างต่อเนื่องของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปัญ์ญจทรัพย์ ปัญญาไว. (2557). ปัจจัยที่การยอมรับเทคโนโลยี และประเทศแหล่งกำเนิดสินค้าที่ส่งผลต่อทัศนคติในการใช้ บริการ Preorder เครื่องสำอางผ่านทางออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปาณิศา ศรีละมัย และศุภชาติ เอี่ยมรัตนกูล. (2561). อิทธิพลของความไว้วางใจที่มีต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ทำความ สะอาดผิวหน้าที่มีส่วนผสมจากธรรมชาติ ผ่านร้านค้าปลีก. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 7(2), 69- 78.

พงศธร ดวงดาว, กนกกาญจน์ เสน่ห์ นมะหุต และจักรกฤษณ์ เสน่ห์ นมะหุต. (2563). ปัจจัยเชิงสาเหตุของ คุณภาพ การ บริการที่มีต่อความตั้งใจในการใช้บริการอินเตอร์เน็ตบรอดแบนด์ของผู้บริโภค ในเขตภาคเหนือตอนล่าง. วารสาร บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 15(2), 71-86.

พัชมณฑ์ เทศขยัน และชัยวัฒน์ อุตตมากร. (2562). ปัจจัยทางด้านความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีผลต่อความตั้งใจเข้าเยี่ยมชมและซื้อสินค้าผ่านช่องทางโซเชียลคอมเมิร์ซ: บทบาท ลักษณะเชิงชั่วคราวและลักษณะเชิงถาวร วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(2), 165-177.

พิชญ์ปิยา เพ็งผ่อง. (2558). การยอมรับเทคโนโลยีความไว้วางใจ การเน้นราคาประหยัด และความแปลกใหม่ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อตั๋วเครื่องบินออนไลน์ของสายการบินต้นทุนต่ำของ ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2544). การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: บุญศิริการพิมพ์.สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.). (ม.ป.ป.). Digital literacy คืออะไร.

สืบค้นจาก https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp

ศุภรา เจริญภูมิ. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อในอนาคตของร้านค้าปลีกดั้งเดิมในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจ, 34(130), 36-48.

สุทธิพร บินอารีย์ และวรินรำไพ รุ่งเรืองจิตต์. (2560). การยอมรับเทคโนโลยีและความไว้วางใจที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการบัวหลวง เอ็มแบงก์กิ้ง แอพพลิเคชั่น ของผู้ใช้บริการในประเทศไทย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อรวรรณ นิยมมั่งมี. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการรับชำระเงินด้วย QR Code ของผู้ค้ารายย่อย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร). สืบค้นจาก http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789 /2859/1/60602725.pdf

Aggelidis, P. V., & Chatzoglou, D. P. (2009). Using a modified technology acceptance model in hospitals. International journal of medical informatics, 72(2). 116-126.

Davis, K. (1989). Human behavior at work: Organizational behavior. New York: McGraw – Hill Book Company.

Efthymiou, A. (2019). Is voice commerce the future of online shopping?. Retrieved from https://www.emerchantpay.com/insights/voice-commerce/

Foster, C. R. (1973). Psychology of life adjustment. Chicago: American Technical Society.

Grasten, A., Jaakkola, T., Liukkonen, J., & Yli–Piipari, S. (2010). Effectiveness of school–initiated physical activity promotion on secondary school students' physical activity participation. Journal of School Health, 85(2), 125–134.

Grandison, T. & Sloman, M. (2000). A Survey of Trust in Internet Applications. IEEE Communications Surveys & Tutorials, 3(4), 2-16.

Harris, W. (2020). A Guide to Voice Commerce, the Future of Ecommerce. Retrieved from https:// williamharris 101.medium.com/a-guide-to-voice-commerce-the-future-of-ecommerce-1bec0be4bcc

Kasasa. (2021). Boomers, Gen X, Gen Y, and Gen Z Explained. Retrieved from https://www.kasasa.com/articles/generations/gen-x-gen-y-gen-z

Lin, A., Gregor, S., & Ewing, M. (2008). Developing a scale to measure the enjoyment of web experiences. Journal of Interactive Marketing, 22(4), 40-57.

Miles, J., & Shevlin, M. (2001). Applying regression and correlation: A guide for students and researchers. London: Sage.

Morgan, M. R. & Hunt, S. (1994). The Commitment-Trust Theory of Relationship Marketing. Journal of Marketing, 58(3), 20-38.

Pedhazur, E. (1997). Multiple regression in behavioral research: Explanation and prediction. Stamford, CT: Thomson Learning.

Rupareliya, M. (2020). How to Use Voice Commerce for Better Marketing and Promotion?. Retrieved from https://yourstory.com/mystory/voice-commerce-better-marketing-Promotion

Sana. (2020). What is voice commerce. Retrieved from https://www.sana-commerce.com/e-commerce-terms/what-is-voice-commerce/

Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory statistics (2nd ed.). New York: Harper & Row.