ความรอบรู้ด้านโภชนาการและการสร้างเสริมสุขภาพวัยรุ่น ด้วยโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3 Self ตามหลัก PROMISE Model
Main Article Content
บทคัดย่อ
โรค NCDs” (Noncommunicable Diseases หรือโรคไม่ติดต่อ เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและของประเทศไทย หากย้อนไปดูรายงานการสำรวจสุขภาพจะพบว่าประชาชนไทยเริ่มมีปัญหาสุขภาพตั้งแต่เป็นวัยรุ่น โดยพบว่าวัยรุ่นมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มเกิดโรคอ้วนลงพุง เพิ่มขึ้นทั้งชายและหญิง หากดูในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น เพศหญิงจะมีสัดส่วนการเพิ่มที่มากกว่าเพศชาย ทำให้เชื่อได้ว่า วัยรุ่นมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นเพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ควรส่งเสริมและให้กำลังใจวัยรุ่นให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความรอบรู้สุขภาพ แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญาสังคม และแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3-Self ด้วยหลัก PROMISE Model จะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่คาดหวังว่าวัยรุ่นจะมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการเพื่อลดโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ในอนาคต
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1.บทความที่ตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่อง เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในวารสารฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
เกศินี จงมนตรี อนันต์ มาลารัตน์ สิงหา จันทน์ขาว. (2563). ความรอบรู้ด้านอาหารในผู้สูงอายุไทยFood Literacy Among Thai Elderly. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย,13(2) ก.ค. - ธ.ค. P159 - 181.
ธิติมาส หอมเทศ. (2555). พฤติกรรมสุขภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). สมุทรปราการ: โครงการสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
นันทภัทร์ เฉลียวศักดิ์. (2564). หลักการและแนวคิดโภชนาการและสุขภาพ. เอกสารประกอบการสอนโภชนศาสตร์และ
โภชนบำบัด (Nutrition and Nutritional Therapy). มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ปนัดดา จันทร์สุกรี และวศิน แก้วชาญค้า. (2561). สภาพแวดล้อมทางอาหารภายในมหาวิทยาลัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพของนักศึกษาไทย.เข้าถึงได้จาก http://fhpprogram.org/download/thai-university-eating-habit/
ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน. (2556). อาหารและโภชนาการ (Food and Nutrition). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ศรีบังอร สุวรรณพานิช. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริโภคอาหารของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่. วารสารวิชาการสถาบันการพลศึกษา,4(1), 29 - 43.
สิริพันธุ์ จุลกรังคะ. (2553). โภชนศาสตร์เบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สิริรดา พรหมสุนทร. (2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
สุวรรณา เชียงขุนทด และคณะ. (2556). ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2560). โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3-Self. ใน อังศินันท์ อินทรกำแหง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: การวัดและการพัฒนา (Health Literacy: Measurement and Development). กรุงเทพฯ: บริษัท สุขุมวิทการพิมพ์ จำกัด.
อัBooth, L., et al. (2001). Capital Structures in Developing Countries. The Journal of Finance, 56, 87 - 130.
Johannes Brug. (2008). Determinants of healthy eating: motivation, abilities and environmental Opportunities. Family Practice, Volume 25, Issue suppl_1, December 2008, Pages i50 - i55.
John C.Spence & Rebecca E Lee. (2013). Toward a comprehensive model of physical activity. from https://doi.org/10.1016/S1469-0292(02)00014-6
Nestle, M., Wing, R., Birch, L., DiSogra, L., Drewnowski, A., Middleton, S., Sigman-Grant, M., Sobal, J., Winston, M., & Economos, C. (1998). Behavioral and Social Influences on Food Choice. Nutrition Reviews. 56(5): S50-S74.
Noimontree, Wanida. Piphatvanitcha, Naiyana. (2015). Health Risk Behaviors of Baccalaureate Students in a Public University. The Journal of Faculty of Nursing Burapa University.23(2), 31 - 40.
Public Health England. (2015). Local action on health inequalities: Improving health literacy to reduce health inequalities. The UCL Institute of Health Equity: London.
Santrock, J. W. (2001). Adolescence (8th.ed.). New York: McGraw Hill.
Sorensen, K.,et al. (2012). Health literacy and public health: A systematic review and integration of definitions and models. BMC Public Health 12, 80 (2012). Form https://doi.org/10.1186/1471-2458-12-80.
Thongsuk, Siwaporn. ,Putwatana, Panawadee. Orathai. Pisamai. (2012). Health Promoting Behaviors of Ramathibodi Nursing Students. Rama Nurs Journal.18(2), 178 - 189.
World Health Organization. (2013). Health literacy: The solid facts. WHO Regional Office for Europe : Copenhagen, Denmark.
ญชลี ศรีเจริญ. (2553). อาหารและโภชนาการ การป้องกันและการบำบัดโรค. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.