การศึกษาองค์ประกอบเชิงยืนยันของกลยุทธ์การทำงานของบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบเชิงยืนยันของกลยุทธ์การทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประชากร คือ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จำนวน 1,570 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 394 ตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารระดับคณะจำนวน 5 คณะ ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไคสแควร์ (χ2) เท่ากับ 161.209 ค่าระดับความน่าจะเป็นของไคสแควร์ (p-value) เท่ากับ .077 ค่าไคสแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/df) เท่ากับ 1.177 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.958 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.935 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องเปรียบเทียบ (CFI) เท่ากับ 0.993 และค่าดัชนีรากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของการประมาณค่าความคลาดเคลื่อน (RMSEA) เท่ากับ 0.022 และมีน้ำหนักองค์ประกอบด้านการสนับสนุนทางสังคมของหัวหน้างาน (SV) นวัตกรรมกระบวนการ (IN) และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (ME) เท่ากับ 0.672, 0.568 และ 0.445 ตามลำดับ และผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับคณะทั้ง 5 คณะ มีความเห็นสอดคล้องกันว่า กลยุทธ์การทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ต้องประกอบด้วย การสนับสนุนทางสังคมของหัวหน้างาน การใช้สื่อสังคมออนไลน์และ นวัตกรรมกระบวนการ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1.บทความที่ตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่อง เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในวารสารฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
ภาษาไทย
กิ่งกาญจน์ วรนิทัศน์, ธีรศักดิ์ กัญจนพงศ์, บุตรี จารุโรจน์, ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์, โศภชา อรัญวัฒน์ และ โสภณ แย้มกลิ่น (2009). องค์กรและการจัดการ. สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล, บริษัทซีเอ็ดยูเคชัน จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
กริช แรงสูงเนิน (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. บริษัท ซีเอ็ด ยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร.
ธนัชชา คงสง. (2559). ปัจจัยความสำเร็จของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย. คณะเทคโนโลยีและการจัดการ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
พิภพ วชังเงิน (2547). พฤติกรรมองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัทรวมสาส์น (1977) จำกัด กรุงเทพมหานคร.
มุจลินท์ สิงห์สาครเดชา และปิ่นกนก วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2015). สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนร่วมงานและการตั้งเป้าหมายที่พยากรณ์ความร่วมมือในการทำงานของพนักงาน. การประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 กลุ่มด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, หน้า 398-409.
ยุทธ์ ไกยวรรณ์ (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย AMOS. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร.
ระบบสารสนเทศบุคลากรมหาวิทยาลัย (UPIS). (2562). จำนวนบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า-
พระนครเหนือ. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2563, จาก www.kmunb.ac.th.
สุวิมล ติรกานันท์. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
สุวิมล ติรกานันท์. (2549). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. บริษัทสุวีริยาสาส์น จำกัด กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ –๒๕๗๙. พิมพ์ ครั้งที่ ๑ มีนาคม.
ภาษาอังกฤษ
Anjum,A., Ming, X., Siddiqi, F. A. & and Samma Faiz Rasool, F.S. (2018). An Empirical Study Analyzing
Job Productivity in Toxic Workplace Environments. Int. J. Environ. Res. Public Health, 15- 35.
Beyer, J. E., & Marshall, J. (1981). The interpersonal dimension of collegiality. Nursing Out Look, 29, 662-665.
Boraha, D. , Malikb, K. & Massini, S. (2019). Are engineering graduates ready for R&D jobs in emerging countries? Teaching-focused industry-academia collaboration strategies. Research Policy ,48,103837.
Bowker,C.G., Baker, K., Millerand, F., & Ribes, D. (2010). Toward Information Infrastructure Studies: Ways of Knowing in a Networked Environment. International Handbook of Internet Research,97-117.
Bush, A. & Grotjohann, N. (2020). Collaboration in teacher education: A cross-sectional study on future teachers’ attitudes towards collaboration, their intentions to collaborate and their performance of collaboration. Teaching and Teacher Education, 88, 102968, 1-9.
Cai, Z, Huang, Q, Liu, H. & Wang, X. (2018). Improving the agility of employees through enterprise social medial
: The mediating role of psychological conditions. International Journal of Information Management, 38, 52-63.
Cheng, J.-W., Chiu, W.-L. & Tzeng (2012). Do impression management tactics and /or supervisor subordinate guanxi matter?. Knowledge-Base System 40, 123-133.
Cheng, T.-M., Chen, M.-T. & Hong, C.-Y. (2016). Conceptualizing and measuring recreation safety climate. Safety Science, 87, 224-233.
Doherty, O., McGreevy, D.P. & Peason, G. (2017). The importance of learning theory and equitation science to the veterinarian. Applied Animal Behaviour Science, 190, 111– 122.
Dess, G., G., Lumpkin, G.T., Eisner, B.A. & McNamara, G. (2012). Strategic Management: Text And Cases. 6ed, McGraw-Hill Irwin. USA.
Elizabeth du Plessis, A., Wang, J., Hoang, T.H.N., Schmidt, A., Merten, L. , Mertens, L., Cullinan.M, & Cameron,V. (2019). New lenses to understand beginning teacherworkforce concerns : Developing and justifying scale items for measuring beginning teachers’ and school leaders’ perceptions. International Journal of Educational Research, 98, 206-233.
Guo,J. Yang, L. & Shi, Q.(2017). Effects of persceptions of the learning environment and approaches to learning on Chinese undergraduates’ learning. Studies in Educational Evaluation, 55, 125-134.
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, J., & Anderson, R.E., & Tathan, R.L. (2006). Multivariate data analysis(6th). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall, USA.
Hung, C.-L., Chou, C.-L.J. & Dong, T.-P.(2011). Innovations and communication through innovative users:
An exploratory mechanism of social networking website. International Journal of Information Management, 31, 317-326.
Keeling, K., McGoldrick, P. & Beatty, S. (2010). Avatars as salespeople: Communication style, trust, and intentions. Journal of Business Research, 63, 793-800.
Kleinknecht,R., UlHaq,H., Muller,R. A & Kraan, O.K. (2020). An attention-based view of short-termism: The effects of organizational structure. European Management Journal Vol., 38, Iss, 2, April, 244-254.
Liu, C. & Ma, J. (2018). Development and validation of the Chinese social media addiction scale. Personaliry and Individual Difference, 134, 55-59.
Leiter, P.M. , Day, A. & Price, L. (2015). Attachment styles at work: Measurement, collegial relationships, and burnout. Burnout Research 2, 25-35.
Maican, I.C., Cazan, A.-M. & Lixandroiu, C.R. (2019). A study on academic staff personality and technology acceptance: The case of communication and collaboration applications. Computers & Education 128, 113-131.
McLean, N.A. & Christensen, W.J. (2017). The application of learning theory in hose training. Applied Animal Behaviour Science, 190, 18-27.
Muellera, G., Mylonasb,D. & Schumachera, P.(2018). Quality assurance of the clinical learning environment in Austria: Construct validity of the Clinical Learning Environment, Supervision and Nurse Teacher Scale (CLES+T scale). Nuse Education Today, 66, 158-165.
Najafi-Tavania,S., Najafi-Tavanib, Z., Naudéc,P. , Oghazie, P., Zeynaloof, E. (2018). How collaborative innovation networks affect new product performance: Product innovation capability, process innovation capability, and absorptive capacity. Industrial Marketing Management, 73, 193-205.
Peng, Y.-P.(2015). Buffering the Negative Effects of Surface Acting: The Moderating Role of Supervisor Support in Librarianship. The Journal of Academic Librarianship, 41, 37-46.
Popa, S., Soto-Acosta,P., & Marinez-Conesa, I. (2017). Antecedents, moderators , and outcomes of innovation climate and open innovation: An empirical study in SMEs. Technological Forecasting & Social Change 118, 134-142.
Salau, O. Worlu, R. Osibajo, A., Adewjl, A., Oludayo, O. & Falola, H. (2018). Survey data on work environment and productivity of academic staff of selected public university in Nigeria. Data in Brief, 1912-1917.
Saunder, W.L, Kleiner, M.B., McCoy, P.A., Ellis, P.K., Smith-Jackson, T. & Wenz, C. (2017). Developing an inter- organizational Safety climate instrument for the construction industry. Safety Science,98, 17-24.
Shafieea, M., Gheidi, S., Khorrami S.M. & Hooshang asadollahd. (2020). Proposing a new framework for personal brand positioning. European Research on Management and Business Economics 26, 45-54.
Shim, M. (2010). Factors influencing child welfare employee’s turnover: Focusing on organizational culture and climate. Children and Youth Service Review, 32, 847-856.
Tajvidi, M., Wang,W. , Hajli,N. & Love, E.D. P. (2017). Brand Value Co-creation in social commerce: The role of interactive, social support, and relationship quality. Computer in Human Behavior, 1-8.
Tahseen Sleimi, M. & Davut, S. (2015). Intrinsic and Extrinsic Motivation: Pivotal Role in Bank Tellers Satisfaction and Performance: Case Study of Palestinian Local Banks. International Journal of Business and Social Science, Vol. 6, No. 11; November
Watanabe, M. & Yamauchi, K. (2016). Psychosocial Factors of Overtime Work in Relation to Work-Nonwork Balance: a Multilevel Structural Equation Modeling Analysis of Nurses Working in Hospitals. Int. Behav. Med, 23, 492 – 500.