เส้นทางชีวิตของผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา

Main Article Content

ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
ฐิติยา เพชรมุนี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจวิถีชีวิตของผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพแบบเล่าเรื่องและใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลผ่านผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 3 แหล่ง ได้แก่ ผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา จำนวน 3 ราย ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา 6 ราย และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับผู้กระทำผิดในคดีข่มขืนกระทำชำเราต่อเนื่อง จำนวน 15 ราย จากนั้นจึงใช้วิธีการวิเคราะห์แก่นสาระจากเรื่องเล่าโดยใช้โปรแกรมช่วยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ATLAS.ti version 22 ผลการวิจัยพบว่าวิถีชีวิตของผู้กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรามีลักษณะที่เป็นปัจเจก และผ่านเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเปราะบางทางบุคลิกภาพ ได้แก่ การเผชิญกับเหตุการณ์เลวร้ายในวัยเด็ก การหลุดออกจากระบบการศึกษา ข้อจำกัดด้านทางเลือกในการประกอบอาชีพ ปัญหาการสร้างสัมพันธภาพทางสังคม และผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางสังคมจนเกิดพฤติกรรมการข่มขืนต่อเนื่อง

Article Details

บท
Research Articles

References

Akers, R. L., & Jennings, W. G. (2016). Social learning theory. In Piquero, A. R. (Ed.), The handbook of criminological theory. John Wiley & Sons.

Blokland, A. A. J., & Nieuwbeerta, P. (2010). Life course criminology. In Knepper, P. & Shoham, S. G. (Ed.), International Handbook of Criminology. CRC Press.

Boyd, C. R. (2011). The impacts of sexual assault on women. Victoria, Australia: Australian Institute of Family Studies

Carlsson, C., & Sarnecki, J. (2016). An Introduction to Life-Course Criminology. SAGE.

Caruso, R. (2015). What is the relationship between unemployment and rape? Evidence from a Panel of European Regions (May 18, 2015). Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=2607380

Center for Criminology & Public Policy Research. (2003). 2003 Annual Report to the Florida Department of Education: Juvenile Justice Educational Enhancement Program. From http://criminology.fsu.edu/wp-content/uploads/FINAL-2003-2004-Annual-Report.pdf

Dolezal, D., & Jovanovic, E. (2020). Identifying Criminal Career Patterns of Sex Offenders. In Palermo, S. & Dumache, R. (Ed.), Criminology and Post-Mortem Studies - Analyzing Criminal Behaviour and Making Medical Decisions.

Eloir, J., Ducro, C., & Nandrino, J. L. (2020). Determining sexual offender profiles from life trajectories. Sexual abuse, 32(5), 521-542.

Faupel, S., & Przybylski, R. (2017). Chapter 2: Etiology of adult sexual offending. In U.S. Department of Justice & Office of Justice Programs (Eds.), Sex Offender Management Assessment and Planning Initiative.

Hanson, R. K., & Morton-Bourgon, K. E. (2005). The Characteristics of Persistent Sexual Offenders: A Meta-Analysis of Recidivism Studies. Journal of Consulting and Clinical Psychology, 73(6), 1154–1163.

Howitt, D. (2018). Introduction to forensic and criminal psychology. Pearson Education.

Huang, C., Shen, S. A., & Tung, T. H. (2022). Onset Crime Typology of Sexual Offenders and Their Differences on Specialization and Risk Factors. Frontiers in Psychology, 13, 1-10.

Jenkins, A., & Petherick, W. (2013). Serial Rape. In Petherick, W. (Ed.), Profiling and Serial Crime: Theoretical and Practical Issues. Elsevier.

Krohn, M. D., Buchanan, M., & Davis, A. (2015). Life Course Criminology. In Wright, J. (Ed.), International Encyclopedia of the Social and Behavioral Sciences. Elsevier.

Loinaz, I., Sánchez, L. M., & Vilella, A. (2021). Understanding empathy, self-esteem, and adult attachment in sexual offenders and partner-violent men. Journal of interpersonal violence, 36(5-6), 2050-2073.

McGee, T. R., & Farrington, D. P. (2016). Developmental and life course theories of crime. In Piquero, A. R. (Ed.), The handbook of criminological theory. West Sussex: John Wiley & Sons.

McKillop, N., Smallbone, S., Wortley, R., & Andjic, I. (2012). Offenders’ attachment and sexual abuse onset: A test of theoretical propositions. Sexual abuse, 24(6), 591-610.

Miller, L. (2012). Criminal psychology: nature, nurture, culture: a textbook and practical reference guide for students and working professionals in the fields of law enforcement, criminal justice, mental health, and forensic psychology. Illinois: Charles C Thomas.

Pennsylvania Coalition Against Rape. (2022). How does literacy relate to sexual violence?. From https://pcar.org/literacy-and-sexual-violence

Pullman, L. E., Stephens, S., & Seto, M. C. (2016). A Motivation‐Facilitation Model of Adult Male Sexual Offending. In Cuevas, A. C. & Rennison, C. M. (Eds.), The Wiley handbook on the psychology of violence. John Wiley & Sons.

van Den Berg, C., Bijleveld, C., & Hendriks, J. (2017). The juvenile sex offender: Criminal careers and life events. Sexual Abuse, 29(1), 81-101.

Ward, T., Polaschek, D. L. L., & Beech, A. R. (2006). Theories of sexual offending. NJ: John Wiley & Sons.

จีระ เลาหบุตร. (2544). ปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำผิดทางเพศของผู้ต้องขังชายในเรือนจำบางขวาง: ศึกษาเฉพาะกรณีความผิดการข่มขืนกระทำชำเรา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) มหาวิทยาลัยมหิดล].

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. (2550). ปัจจัยที่มีความเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมทางเพศของผู้หญิงไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดวงกมล จักกระโทก. (2561). สาเหตุการข่มขืนกระทำชำเราเด็กหญิงอายุต่ำกว่า 13 ปี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริทัศน์ วาทิกทินกร. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะทางสุขภาพจิตกับลักษณะการกระทำผิดทางเพศของนักโทษชายเด็ดขาดในเรือนจำกลางคลองเปรม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) มหาวิทยาลัยมหิดล.

ยศเดช ศีลเตชะ. (2551). ความสัมพันธ์ของสื่อลามกกับการกระทำผิดทางเพศของผู้กระทำผิดชายในเรือนจำกลางนครปฐม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุมนา มุนินโท. (2539). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระทำผิดทางเพศของเด็กและเยาวชนในจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต (วิชาเอกไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อรัญญา ตุ้ยคัมภีร์, ขัตติยา รัตนดิลก, นิรนาท แสนสา, จินตนา สิงขรอาจ, กุลวดี ทองไพบูลย์, สวรินทร์ รื่นเริง, ณธารา ฐิติธราดล, และภวิสร์ ทวีงาม. (2564). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการนำร่องเพื่อพัฒนามาตรฐานเรือนจำและโปรแกรมบำบัดแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดทางเพศเพื่อลดการกระทำผิดซ้ำ [รายงานการวิจัย]. สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

อัณณพ ชูบำรุง และศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด. (2538). ว่าด้วยเหยื่ออาชญากรรม. นครปฐม: โรงพิมพ์สถาบันพัฒนาสาธารณสุขอาเซียน