การศึกษาการบริโภคผลิตภัณฑ์ Plant based Food ของจีน เพื่อแสวงหาแนวทาง การส่งออกผลิตภัณฑ์ Plant based Food ของไทยในตลาดจีน
Main Article Content
บทคัดย่อ
อาหารจากพืช เป็นเทคโนโลยีทางอาหารที่กระแสความนิยมกำลังเพิ่มขึ้นในตลาดโลก โดยเฉพาะในประเทศจีน ซึ่งเป็นตลาดที่สำคัญและมีอัตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐในหลายด้าน ส่งผลให้จีนมีมูลค่าการนำเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ Plant based Food มากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก การแพร่ระบาดของโควิด 19 ทำให้ผู้บริโภคจีนหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ Plant based Food เป็นที่นิยมมากขึ้น จึงเป็นโอกาสที่จะผลักดันผลิตภัณฑ์ Plant based Food ของไทยไปจำหน่ายในตลาดจีน ผลการศึกษาพบว่า ผลิตภัณฑ์ Plant based Food ของไทย มีความได้เปรียบด้านวัตถุดิบการผลิตที่มีจำนวนมากและหลากหลายชนิด ราคามีความเหมาะสม และผลิตภัณฑ์มีความหลากหลายมีช่องทางการเข้าสู่ตลาดจีน อาทิ การขายผ่านแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซ การใช้แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียในการไลฟ์สดขายสินค้า รวมถึงการโปรโมตและขายสินค้าผ่านบัญชีทางการ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การส่งออก Plant based Food ของไทย ยังมีอุปสรรคทางด้านการตรวจสอบและรับรองคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การแข่งขันในตลาดจีน และความปลอดภัยในอาหาร ดังนั้น ผู้ประกอบการไทยควรพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ มีความแตกต่าง รักษามาตรฐาน สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภค และพร้อมแข่งขันทั้งในตลาดจีนและตลาดโลก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1.บทความที่ตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่อง เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในวารสารฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
ภาษาไทย
ไทยส่งออก Plant based Foods ติดอันดับ 6 รดต้นคอ ‘จีน’ ชิง 1 ใน 5 ของโลก. (2565, 9 พฤศจิกายน). มติชนออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/economy/news_3664108
นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่. (2556). อาหารเพื่อสุขภาพ (Food for Health). [เอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์] .ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร,คณะเทคโนโลยี การเกษตร. สืบค้นจาก http://www.facagri.cmru.ac.th/2013/wp-content/uploads/2013/03/ Chapter4_Food-for-Health.pdf
นุชประภา โมกข์ศาสตร์. (19 กันยายน 2563). Plant-Based ความท้าทายของของผู้ประกอบการไทยในการพัฒนาอุตสาหกรรม ท่ามกลางกระแสการดูแลสุขภาพยุคใหม่. Think Forward Center. สืบค้นจาก https://think.moveforwardparty.org/article/economy/3186/
นัฐพล ตั้งสุภูมิ. (2565, มกราคม 16). Plant based Food อาหารทางเลือกเพื่อสุขภาพ จริงหรือ?. กองบริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นจาก https://op.mahidol.ac.th/ga/posttoday-47/
พชรพจน์ นันทรามาศ, พิมฉัตร เอกฉันท, อภินันทร์ สู่ประเสริฐ. (2563, พฤศจิกายน). ทำความรู้จัก Plant-based Food เมื่อเนื้อสัตว์จากพืชกลายเป็นเทรนด์อาหารโลก. Krungthai compass. สืบค้นจาก https://1th.me/ylVYa
วิภูพัฒน์ ธีร์ธนะกาญจน์. (2564, สิงหาคม 16). ส่องเทรน Plant based Food ในจีนเนื้อสัตว์ ที่ “ไม่ใช่เนื้อสัตว์”. ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง. สืบค้นจาก https://thaibizchina.com/article/plant_based_china/
วรรณศิริ กางกั้น. (2564). Plant based Food อาหารแห่งโลกอนาคต. อุสาหกรรมสาร. วารสารกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม,63. (เดือนมีนาคม-เมษายน, 2564). หน้าที่ 5-10. สืบค้นจาก https://ejournal.dip.go.th/dip/images/ejournal/75114a8506de6348c0a02459f545462f.pdf
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองกวางโจว. (2563, พฤษภาคม). สถานการณ์ตลาดและแนวโน้มสินค้าอาหารประเภทเนื้อสัตว์ทำจากพืช (Plant-based Meat) ในจีน 2020. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. สืบค้นจาก https://ditp.go.th/contents_attach/614236/614236.pdf
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองชิงต่าว. (2565, มิถุนายน). ส่องสถานการณ์และการพัฒนาของอุตสาหกรรม Plant based Food ในจีน. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. สืบค้นจาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/791511/791511.pdf
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองหนานหนิง. (2564, ตุลาคม). การพัฒนาธุรกิจ Plant-based Meat ในตลาดจีนมีโอกาสเติบโต. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. สืบค้นจาก https://www.ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view.php?filename=contents_attach/754128/754128.pdf&title=754128&cate=2071&d=0
ส่องสถานการณ์ตลาดและโอกาสของผลิตภัณฑ์ Plant Based ในตลาดจีน. (2563). กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. สืบค้นจาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/669766/669766.pdf
ภาษาอังกฤษ
Kanokwan Makmek. (2564, มิถุนายน 4). จับตาศึก Plant-Based เมืองไทย สังเวียนนี้ใครจะชนะ?. Work Point today. Retrieved from https://workpointtoday.com/plant-based-food-war/
Marketing Strategy. (2563, พฤศจิกายน 24). กรุงไทยชี้เทรนด์อาหารจากพืชต่อยอดธุรกิจอาหารไทย. กรุงไทย. Retrieved from https://krungthai.com/th/krungthai-update/news-detail/595
Panyabhassara Promchaiwattana. (2566, มีนาคม 29). รวบ 8 อาหารบำรุงไต ช่วยขับล้างสารพิษ และช่วยให้ไตทำงานอย่างเป็นระบบมากขึ้น. VOGUE THAILAND. กรุงเทพธุรกิจ. Retrieved from https://vogue.co.th/beauty/wellness-nutrients-for-kidney
Plant-Based อาหารทางเลือก ตอบโจทย์ "สุขภาพ" ลดอัตราก่อโรค. (2565, กันยายน 5). กรุงเทพธุรกิจ. Retrieved from https://www.bangkokbiznews.com/health/well-being/1024367
Pornsin. (2565, พฤศจิกายน 9). ไทยส่งออก Plant based Food ติดอันดับ 6 รดต้นคอ ‘จีน’ ชิง 1 ใน 5 ของโลก. กองทุนบัวหลวง. Retrieved from https://bualuang.fund/archives/22034/thailand-export-plant-based-foods-no6-of-the-world/
Sizzler เปิดตัวรสชาติแห่งอนาคตกับ 4 เมนูใหม่สไตล์ Plant-Based Meat ครั้งแรกในประเทศไทย. (2562, สิงหาคม 23). BKK EAT. Retrieved from https://www.bkkmenu.com/eat/news/sizzler-tastethefuture.html
SME THAILAND. (2565, สิงหาคม 15). 7 เรื่อง Plant based Food ที่คนทำธุรกิจต้องรู้. Smethailandclub. Retrieved from https://www.smethailandclub.com/entrepreneur/8384.html
SME Update. (2563, มิถุนายน 9). โอกาส SMEs! ตลาดเนื้อสัตว์ที่ทำจากพืชในประเทศจีน. ธนาคารกรุงเทพ. Retrieved from https://www.bangkokbanksme.com/en/sme-chinese-meat-based-market
SME Update. (2566, พฤศจิกายน 29). มีอะไรเปลี่ยนไป! สัญญาณผู้บริโภคจีนหลังโควิด. ธนาคารกรุงเทพ. Retrieved from https://www.bangkokbanksme.com/en/what-changed-chinese-consumer-signs-after-covid
Tangsiri. (2563, ธันวาคม 15). Nestle เตรียมทำตลาด Plant-based Meat ในประเทศจีนภายใต้แบรนด์ Harvest Gourmet. Brand Inside. Retrieved from https://brandinside.asia/nestle-plant-based-meat-china/
ภาษาจีน
多元化发展创新中升级 植物基市场将在三个赛道加速跑. (2563, พฤศจิกายน 26). 食品商务网. Retrieved from https://news.21food.cn/12/2898850.html
国内首个《植物基食品认证实施规则》备案发布. (2564, พฤษภาคม 13). 中国青年网. Retrieved from https://baijiahao.baidu.com/s?id=1699700767567701655&wfr=spider&for=pc
食品安全热点五:植物基食品如何发展 专家:从创新技术研究入手. (2564, มกราคม 8). 中国经济网. Retrieved from https://baijiahao.baidu.com/s?id=1688307391381656345&wfr=spider&for=pc