ต้นทุนทางจิตวิทยา ความยึดมั่นผูกพันในงาน และภาวะหมดไฟในการทำงาน ของพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทสื่อสิ่งพิมพ์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ฐิติรัตน์ ตันไพศาล
รัตติกรณ์ จงวิศาล

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับของต้นทุนทางจิตวิทยา ความยึดมั่นผูกพันในงาน และภาวะหมดไฟในการทำงาน 2) ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทางจิตวิทยาและความยึดมั่นผูกพันในงาน กับภาวะหมดไฟในการทำงาน และ 3) ตัวพยากรณ์ระหว่างต้นทุนทางจิตวิทยาและความยึดมั่นผูกพันในงานที่มีต่อภาวะหมดไฟในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทสื่อสิ่งพิมพ์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 175 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล โดยผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับของต้นทุนทางจิตวิทยาและความยึดมั่นผูกพันในงานอยู่ในระดับสูง และภาวะหมดไฟในการทำงานอยู่ในระดับต่ำ 2) ต้นทุนทางจิตวิทยาและความยึดมั่นผูกพันในงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะหมดไฟในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ความยึดมั่นผูกพันในงานสามารถพยากรณ์ภาวะหมดไฟในการทำงานได้ร้อยละ 29.0 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001

Article Details

บท
Research Articles

References

ภาษาไทย

กรุณา จันทุม. (2560). การสร้างเครื่องมือวัดคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพประเภทสเกล. วารสารการแพทย์และ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ, 24(3), 11-21.

เกษม แก้วสนั่น, เพ็ญศรี ฉิรินัง. (2564). การจัดการองค์กรไปสู่ความสําเร็จ. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์, 6(4),

-108.

ขนิษฐา ไชยฤกษ์. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี ความสุขและคุณภาพการให้บริการของพนักงานให้บริการ

ลูกค้าในฝ่ายขาย : กรณีศึกษาสายการบินแห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,

กรุงเทพมหานคร.

ชัจจ์ชนันต์ ธรรมจินดา. (2553). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ และการนำแผนฯ

ไปสู่การปฏิบัติ. สืบค้นจาก www.stabundamrong.go.th/web/book/53/b15_53.PDF

ชูชัย สมิทธิไกร และพงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การ

ของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Kasetsart Journal of Social Sciences, 38(2), 655-667.

ธนิต โสรัตน์. (2563). ผลกระทบไวรัสโคโรนา.... คุกคามเศรษฐกิจถดถอยเลวร้ายสุดในรอบเกือบศตวรรษ. สืบค้นจาก

www.posttoday.com/economy/columnist/619876

มนัสพงษ์ มาลา. (2563). ภาวะเมื่อยล้าหมดไฟในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขตสุขภาพที่ 4.

วารสารวิชาการสาธารณสุข, 30(5), 944-954.

โยธิน วิเชษฐวิชัย. (2561). Burnout Syndrome ภาวะหมดไฟในการทำงาน. สืบค้นจาก www.samitivejhospitals.

com/th/หมดไฟ-การทำงาน/

สมาคมการพิมพ์ไทย. (2562). ปรับตัว “ธุรกิจโรงพิมพ์” ทำอย่างไรถึงจะอยู่รอด. วารสารการพิมพ์ไทย, 124, 78-81.

สุพริศร์ สุวรรณิก. (2563). ไวรัสโคโรนา : ฝันร้ายของเศรษฐกิจโลก?. สืบค้นจาก www.thairath.co.th/news/business/

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). Move on อย่างไรให้ไปจาก ภาวะหมดไฟในการทำงาน.

สืบค้นจาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th/index.php

หัสบดินทร์ เติมทรัพย์, รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2562). ความฉลาดทางวัฒนธรรม ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ ความสามารถใน

การฟื้นคืนกลับและความยึดมั่นผูกพันในงานของผู้บริหารระดับต้นธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 12(5), 1534-1531.

อภิญญา หิรัญวงษ์. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 01475511 (สถิติประยุกต์ทางจิตวิทยา). ภาควิชาจิตวิทยา

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดสำเนา).

อรพินทร์ ชูชม. (2557). การวิเคราะห์โครงสร้างความยึดมั่นผูกพันในงาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและ

เทคโนโลยีอีสเทิร์น, 11(2), 75-79.

ภาษาอังกฤษ

Bitmis, M. G., & Ergeneli, A. (2015). How psychological capital influences burnout: The mediating role of

job insecurity, 207(2015), 363-368.

Deloitte, Inc. (2018). Workplace Burnout Survey. Retrieved from www2.deloitte.com/us/en/pages/about-

deloitte/articles/burnout-survey.html

Kahn, W. A. (1990). Psychological conditions of personal engagement and disengagement at work.

Academy of Management Journal, 33(4), 692-724.

Leiter, M. P. (2008). A Two Process Model of Burnout and Work Engagement: Distinct implications of

Demands and Values. Retrieved from www.researchgate.net/publication/23168234_A_Two_Process_

Model_of_Burnout_and_Work_Engagement_Distinct_Implications_of_Demands_and_Values

Luthans, F. & Youssef. C. M. (2017). Psychological capital: An evidence-based positive approach.

The Annual Review of Organizational Psychology and Organizational Behavior, 4(1), 1-43.

Luthans, F., C. M. Youssef & Avolio. B. J. (2007). Psychological Capital: Developing the Human Competitive

Edge. New York: Oxford University Press.

Maricutoiu, L. P., C. Sulea & Lancu. A. (2017). Work engagement or burnout: Which comes first? A meta-

analysis of longitudinal evidence. Burnout Research, 5, 35-43. Retrieved from www.sciencedirect. com/science/article/pii/S2213058617300220

Maslach, C., W. B. Schaufeli & Leiter. M. P. (2001). Job burnout. Annual Review of Psychology, 52(1),

-422.

Min, H., H. J. Kim & Lee. S. B. (2015). Extending the challenge–hindrance stressor framework : The role

of psychological capital. International Journal of Hospitality Management, 50(1), 105-114.

Schaufeli, W. B. & Bakker. A. B. (2003). The Utrecht Work Engagement Scale (UWES). Retrieved from

www.wilmarschaufeli.nl/publications/Schaufeli/Test%20Manuals/Test_manual _UWES_English.pdf

Schaufeli, W. B. & Bakker. A. B. (2010). Defining and measuring work engagement : Bringing clarity to the

concept. In M. P. Leiter and A. B. Bakker. (eds.). Work Engagement: A Handbook of Essential Theory

and Research. New York: Taylor and Francis Group, 10-24.

Schaufeli, W. B., M. Salanova, V. G. Roma & Bakker. A. B. (2002). The measurement of engagement and

burnout: A two-sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness Studies, 3(1),

-92.

SME Thailand. (2563). เคาะประตู Burnout Syndrome ส่องโอกาสธุรกิจที่มาพร้อมภาวะ ‘คนหมดไฟ’. Retrieved

from www.smethailandclub.com/marketing-5357-id.html

Thailand media landscape. ภูมิทัศน์สื่อไทยปี 2564. Retrieved from www.infoquest.co.th/thailand-media-

landscape-2021

Wang, Z. (2017). Associations between occupational stress, burnout, and well-being among manufacturing

workers : mediating roles of psychological capital and self-esteem. Retrieved from www. bmcpsychiatry.

biomedcentral.com/articles/10.1186/s12888-017-1533-6