ปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐาน ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อม และนโยบายภาครัฐที่ส่งผลต่อการเลือกใช้รถยนต์พลังงานไฮโดรเจน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี 2)โครงสร้างพื้นฐาน 3)ความกังวลทางด้านสิ่งแวดล้อม 4)นโยบายภาครัฐบาล ที่ส่งผลต่อการเลือกใช้รถยนต์พลังงานไฮโดรเจน การศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ และกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้ที่มีการใช้รถหรือมีความตั้งใจใช้รถยนต์ประหยัดพลังงาน จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์เชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) และการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน ปัจจัยด้านความกังวลทางด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านนโยบายภาครัฐบาล ส่งผลต่อการเลือกใช้รถยนต์พลังงานไฮโดรเจน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1.บทความที่ตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่อง เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในวารสารฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
ภาษาไทย
กรมพัฒนาทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (ม.ป.ป.). เอกสารเผยแพร่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิงสำหรับภาคคมนาคมขนส่งในประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.fuelcell.co.th/images/content/fuelcell_hydrogen_energy.pdf
ชาญวิทย์ ทองสัมฤทธิ์. (2562). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม. สืบค้นจาก https://www.onep.go.th/การประเมินผล
กระทบสิ่งแ/
บัณฑิต นิจถาวร. (2565). ประเทศต้องการนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/articles-
news/165439/
ปณัชญา ลีลายุทธ. (2565). นโยบายสาธารณะและธรรมาภิบาล พรรคการเมืองไหนมัดใจเด็กรุ่นใหม่. สืบค้นจาก
https://www.thaipost.net/x-cite-news/50436/
ประชาชาติธุรกิจ, (2565). บีไอจีนำร่องเปิดปั๊มไฮโดรเจนผนักพันธมิตรรับเทรนด์ยานยนต์อนาคต. สืบค้นจาก https://www.
prachachat.net/economy/news-1113043
ปริญญา ฉกาจนโรดม. (2553). ระบบสะสมไฮโดรเจนเพื่อติดตั้งในรถยนต์. สืบค้นจาก http://www.rdi.ku.ac.th/exhibition
/53/group06/material/automobiles.pdf
ปัญ์ญจทรัพย์ ปัญญาไว. (2557). ปัจจัยที่การยอมรับเทคโนโลยี และประเทศแหล่งกำเนิดสินค้าที่ส่งผลต่อทัศนคติในการใช้
บริการ Preorder เครื่องสำอางผ่านทางออนไลน์ของผู้บริโภคในเขคกรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
พิมนารา อินต๊ะประเสริฐ. (2564). ทำไมนโยบายสาธารณะไทย (ยัง) ไปไม่ถึงความยั่งยืน ?. สืบค้นจาก https://www.sdmove.com/2021/09/07/sdg-updates-reasons-why-thais-public-policy-has-not-yet- sustainable/
เพ็ญวดี ศิริบุรภัทร. (2564). โครงสร้างพื้นฐานและการออกไปลงทุนในต่างประเทศ. สืบค้นจาก https://researchcafe.org/foreign-investment/
เพิ่มสกุล พูลมา และ บดินทร์ รัศมีเทศ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้รถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมนักวิจัย, 26(4), 63-81.
ไพศาล วรคำ. (2559). การวิจัยทางการศึกษา (Education Research). มหาสารคาม: ตักสิลา การพิมพ์.
รสิตา อภินันทเวช, พิมพ์วิภา ลุ้งบ้าน, วิมลสิริ สิงห์ทอง, อภิญา เหลืองเจริญพัฒนะ และ นิภา นิรุตติกุล. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้เทคโนโลยี V-Commerce ในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค Generation Z จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 14(2), 1-13.
รัสมิ์กร นพรุจกุล และ ณัตติฤดี เจริญรักษ์. (2563). ‘นโยบายสาธารณะ’: เรื่องใหญ่ ที่ใกล้ตัว. สืบค้นจาก https://ippd.or.th/survey-non-survey/
ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน. (2563). วัตถุประสงค์ของศูนย์เชี่ยวชาญฯ. สืบค้นจาก www.infra.chula.ac.th/ดูหน้า-20752-เกี่ยวกับเรา.html
สถาบันพลังงาน มช. (2564). Hydrogen = พลังงานทดแทน ?. สืบค้นจาก https://erdi.cmu.ac.th/?p=3778
สถาบันพลังงาน มช.. (2565). แนวทางการส่งเสริมการผลิตและการใช้งานไฮโดรเจนเชิงพาณิชย์. สืบค้นจาก https://erdi.cmu.ac.th/?p=5495
สรศักดิ์ บุญรอด. (2564). มณฑลกวางตุ้งกับการเป็นผู้นำด้านพลังงานใหม่ของจีน ตอน “พลังงานไฮโดรเจน” อีกทางเลือกของอุตสาหกรรมยานยนต์. สืบค้นจาก https://thaibizchina.com/article/gd_hydrogen_200219/
สันติ กระแจะจันทร์. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าประเภทแบตเตอรี่ของกลุ่มผู้ประกอบกิจการขนส่งและกลุ่มผู้ขับรถแท็กซี่ในประเทศไทย. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ, 16, 709-717.
สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2564). แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564-2573 สาขาคมนาคมขนส่ง. สืบค้นจาก https://climate.onep.go.th/wp-content/uploads/2021/09/NDC_Action_
Plan_Transport_sector.pdf
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน. (2565). สนพ. เผยสถานการณ์การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภาคพลังงานไทย 6 เดือนแรก ปี’65 เพิ่มขึ้น 6.7%. สืบค้นจาก https://www.greennetworkthailand.com/co2-energy-q2-2565/
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2562). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา. สืบค้นจาก
สุทธมน เฮงรัศมี. (2564). รถพลังงานไฮโดรเจน อีกหนึ่งผู้เล่นที่ช่วยโลกให้สะอาดขึ้น. สืบค้นจาก https://www.greenery.org/articles/clean-power-hydrogen-car/
อาคม รวมสุวรรณ. (2565) สัมผัสแรกอย่างเนียน ทดสอบ รถยนต์ไฟฟ้าพลังไฮโดรเจน TOYOTA MIRAI เติม 5 นาที วิ่งไกล 800กิโลเมตร!. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/auto/testdrive/2531891fbclid=IwAR0FJ6GKgYjWQYcmE-C-ANIgX1E5JPmqJMTM82avPloMherGUZ-yMxi8ph8
อาคม รวมสุวรรณ. (2565). TOYOTA มุ่งหน้าพลังงานทางเลือกไฮโดรเจน ควบคู่กับการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าเพื่อลดคาร์บอน.
สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/auto/evcar/2496237
ภาษาอังกฤษ
Carley, S., Krause, R. M., Lane, B. W., & Graham, J. D. (2013). Intent to purchase a plug- in electric vehicle: A survey
of early impressions in large US cites. Transportation Research Part D: Transport and Environment, 18, 39-45.
Davis, K. (1989). Human behavior at work: Organizational behavior. New York: McGraw - Hill Book Company.
ExpresSo. (2019). ภาพรวมวิกฤตสิ่งแวดล้อม 2021 เมื่อโลกต้องร่วมกันแก้ปัญหา. สืบค้นจาก https://blog.pttexpresso.com/
environmental-crisis/
Fillgoods (2564). เจาะเทรนด์สินค้ารักษ์โลกเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อผู้บริโภคสายกรีน. สืบค้นจาก https://www.fillg
oods.co/online-biz/shop-orders-trend-product-environmental-friendly-for-green
Liptak, Bela G. (2009). Post-OIL ENERGY TECHNOLOGY The World’s First Solar-Hydrogen Demonstration Power
Plant. Boca Raton: CRC Press. London:Sage.
Miles, J., & Shevlin, M. (2001). Applying regression and correlation: A guide for students and researchers. London: Sage.
Pedhazur, E. (1997). Multiple regression in behavioral research: Explanation and prediction. Stamford, CT: Thomson
Learning.
SCG logistics. (2563). รถยนต์พลังงานไฟฟ้า VS รถยนต์พลังงานไฮโดรเจน. สืบค้นจาก https://www.scglogistics.co.th/th/
รถยนต์-พลังงานไฟฟ้า-vs-รถย/
Smartcity. (2564). Infrastructure หรือ โครงสร้างพื้นฐาน มันมีความสำคัญยังไงนะ?. สืบค้นจาก www.smartcity.click/
บทความ/infrastructure-หรือ-โครงสร้างพื้นฐาน/
SPRING. (2565). เทคโนโลยีอนาคต ‘รถพลังงานไอโดรเจน’ (FCEV) ดีย่างไร ? ทำไมอาจเจ๋งกว่า รถ EV. เจน. สืบค้นจาก
https://www.springnews.co.th/digital-tech/auto/829475
Thai PBS. (2565). หยิบเรื่องขยะมาคุย กับนักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ขยับขยายการเปลี่ยนแปลง. สืบค้นจาก https://
thecitizen.plus/node/61954
The Royal Academy of Engineering. (2005). Engineering for Sustainable Development: Guiding Principles. Retrieved
from https://www.engc.org.uk/engcdocuments/internet/website/Engineering%20for%20Sustainable%20Deve
lopment,%20Royal%20Academy%20of%20Engineering.pdf
VOA thai. (2565). ผู้ผลิตรถหลายค่ายเร่งผลักดันโครงการรถยนต์พลังงานไอโดรเจน. สืบค้นจาก https://www.voathai.com
/a/hydrogen-powered-vehicles-automakers-electric-vehicles/6337047.html
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory statistics (2nd ed.). New York: Harper & Row.